Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์และ โรคติดเชื้อโคโรน่า…
5.4 ความผิดปกติของการหายใจ วัณโรคปอดในหญิงตั้งครรภ์และ โรคติดเชื้อโคโรน่า (Covid-19) :star:
อาการและอาการแสดง วัณโรค :<3:
อาการไอมักจะเรื้อรังนากว่า 3 สัปดาห์
มีอาการอ่อนเพลีย เบื่ออาหาร น้ำนักตัวค่อยๆลดลง
มีอาการไอ ซึ่งในระยะแรกจะไอแห้งๆต่อมาจึงมีเสมหะลักษณะเป็นมูกปนหนองจะไอมากขึ้นเวลาเข้านอนหรือตื่นนอนตอนเช้า
มีไข้ตอนบ่าย เหงื่อออกตอนกลางคืน
การวินิจฉัย :<3:
Tuberculin skin test ซึ่งวิธีนี้ไม่แนะนำให้ใช้ตรวจในหญิงตั้งครรภ์และหญิงที่ให้นมบุตร
ตรวจเอกซ์เรย์ปอด
ซักประวัติอาการและอาการแสดง
การส่งตรวจเสมหะ
การตรวจย้อมหาเชื้อวัณโรค (acid fast bacilli staining)
การเพาะเชื้อ (culture for mycobacterium tuberculosis)
การตรวจหาสารพันธุกรรมที่เชื้อวัณโรค(PCR)
ผลของโรคต่อการตั้งครรภ์ :<3:
ต่อมารดา
การคลอดก่อนกำหนด
ความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์
แท้งเอง
ต่อทารก
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
การเสียชีวิตในครรภ
ภาวะพร่องออกซิเจนแต่กำเนิด
ทารกติดเชื้อวัณโรคแต่กำเนิด
การพยาบาล :<3:
ระยะคลอด
ดูแลให้อยู่ในห้องแยก ให้ผู้คลอดพักผ่อนให้เพียงพอ
ประเมินสุขภาพทารกในครรภ์และความก้าวหน้าของการคลอด
ระยะหลังคลอด
ทารกแรกเกิดควรได้รับการตรวจ Tuberculin skin test เมื่อแรกเกิด พร้อมกับให้ยา INHและ rifampicin ทันทีหลังคลอด
ทารกได้รับการฉีด BCG เพื่อป้องกันวัณโรคชนิดแพร่กระจาบหลังคลอด
แยกทารกออกจากมารดาจนกระทั้งการเพาะเชื้อจากเสมหะของมารดาได้ผลลบ
ระยะตั้งครรภ์
จัดสิ่งแวดล้อมในบ้านให้อากาศถ่ายเทได้สะดวก
สวมผ้าปิดปากป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ ไม่ไอจาม รดผู้อื่น
แนะนำรับประทานอาหารที่มีโปรตีนสูง เน้นปลา นม ไข่ เพิ่มอาหารที่มีธาตุเหล็กและวิตามิน
ฝากครรภ์ตามนัดเพื่อประเมินการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
แนะนำรับประทานยาตามแผนการรักษาของแพทย์ใช้ยาสูตร 2HRZE/4HR
Covid - 19 :fire:
การดูแลหญิงตั้งครรภ์ หญิงหลังคลอด ที่เป็นกลุ่มเสี่ยง :explode:
งดการออกไปในที่ชุมชน
พิจารณาเลื่อนการฝากครรภ์ หากอยู่ในกำหนดกักตัว
แยกตนเองออกจากครอบครัวและสังเกตอาการจนครบ 14 วัน
กรณีเจ็บครรภ์คลอดต้องไปโรงพยาบาลทันที และแจ้งเจ้าหน้าที่ให้ทราบ
การดูแลทารกแรกเกิด ในกรณีมารดาเป็นผู้ที่สงสัยติดเชื้อหรือติดเชื้อ COVID 19 :explode:
ยังไม่มีหลักฐานการติดต่อผ่านทางรกหรือผ่านทางน้ำนม
แยกตัวออกจากทารกอื่น และต้องสังเกตอาการเป็นเวลา 14 วัน
อธิบายถึงความเสี่ยง การเลี้ยงลูกด้วยนมมารดาให้มารดาเข้าใจและเป็นผู้ตัดสินใจเอง
ยังไม่มีหลักฐานทางวิชาการในการแพร่เชื้อไวรัส ผ่านทางน้ำนม
การดูแลหญิงตั้งครรภ์
หญิงหลังคลอด กลุ่มปกติ :explode:
งดใช้ของส่วนตัวร่วมกับผู้อื่น
ล้างมือบ่อย ๆ ด้วยสบู่และน้ำสะอาดนานอย่างน้อย 20 วินาที
รับประทานอาหารที่ปรุงสุกใหม่เสมอ
ไอจาม ปิดปาก
หลีกเลี่ยงการใช้มือสัมผัสบริเวณดวงตา ปาก และจมูก
ถ้ามีอาการไข้ ไอ เจ็บคอ หายใจเหนื่อย ควรรีบไปพบแพทย์
รักษาระยะห่าง
ฝากครรภ์ได้ตามนัด
หลีกเลี่ยงการสัมผัส
ข้อแนะนำการปฏิบัติสำหรับมารดา :explode:
สวมหน้ากากอนามัย ตลอดเวลาทำกิจกรรม
งดการสัมผัสบริเวณใบหน้าของตนเองและทารก
ล้างมือให้สะอาดด้วยน้ำและ สบู่ นานอย่างน้อย 20 วินาที หรือแอลกอฮอล์เข้มข้น 70% ขึ้นไป
ป้อนนมทารกด้วยการใช้ช้อน หรือถ้วยเล็ก
อาบน้ำหรือเช็ดทำความสะอาดบริเวณเต้านม
ล้างทำความสะอาดอุปกรณ์การให้นมเสร็จสิ้นกิจกรรม