วิตามิน(Vitamin)
click to edit
ละลายน้ำ
ละลายในไขมัน
ร่างกายต้องการน้อยแต่จำเป็น
ควบคุมปฏิกิริยาเมแทบอลิซึม,ไม่ให้พลังงาน
DRIs เป็นปริมาณสารอาหารโดยประมาณที่ร่างกายต้องการ
EAR ค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ได้รับ
RDA ค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ร่างกายต้องการต่อวัน
UL ปริมาณสารอาหารสูงสุดที่ร่างกายรับได้โดยไม่เกิดอันตราย
วิตามิน D
วิตามิน E
วิตามิน A
วิตามิน K
เบตาแคโรทีน
หน้าที่
เรตินอลพบมากใน ตับ ไข่แดง น้ำมันปลา นม, ต้องการวันละ 1 มก.
click to edit
เป็นสารประกอบพอลิไอโซพรีนอยด์ ไอโซเมอร์แบบรูปทรานทั้งหมด
เปลี่ยนเป็นเรตินาที่ผนังลำไส้เล็ก
เปลี่ยนเป็นวิตามินเอได้น้อยกว่า 50%
พบมากในผักผลไม้สีส้มสีเหลือง ผักสีเขียวจัด
รักษาความคงสภาพของเนื้อเยื่อบุผิว
ป้องกันเซลล์เติบโตผิดปกติ
การมองเห็นเซลล์รับภาพจอตา rod cell แสงสลัว cone cell แสงสว่าง
ต้านออกซิเดชัน ลดความเสี่ยงการเป็นมะเร็งปอด
ภาวการณ์ขาด ระบบดูดซึมอาหารผิดปกติ สูญเสียความไวต่อแสงสีเขียว เยื่อบุตาอักเสบ ตาบอด เกิดโรคโลหิตจาง
ภาวะความเป็นพิษ รับเกิน 10 เท่า ปวดหัว อาเจียน ผิวแห้ง โรคตับ แท้ง ปวดกระดูก
หน้าที่
พิษจากการได้รับมากเกินไป
เป็นสารพวกสเตอรอยด์มี2รูปคือ D2 และ D3
การขาด
ช่วยสร้างกระดูกและฟัน กระตุ้นการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟต
ขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัส เกิดโรคกระดูกอ่อน กระดูกเปราะ เสี่ยงต่อโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เต้านม ต่อมลูกหมาก ขาดMgหรือCa ดูดซึมวิตามินดีได้น้อยลง
แคลเียมในเลือดสูง ปัสสาวะมาก กะหายน้ำ ไม่อยากอาหาร คลื่นไส้ ไตทำงานลดลง
ทางเดินอาหารผิดปกติกระดูกเปราะ เติบโตช้า ปัญญาอ่อน
เป็นสารพวกแอลกอฮอล์ ไม่อิ่มตัว ไวต่อการถูกออกซิไดส์ ดูดซึมได้ดีในลำไส้เล็ก
มีมากในน้ำมันวีทเจอร์ม น้ำมันดอกคำฝอย น้ำมันรำ น้ำมันเมล็ดฝ้าย
เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ และไฮโดรเจนเปอร์ออกไซด์ ทำให้เกิดภาวะเม็ดเลือดแดงแตก
เกี่ยวกับการแข็งตัวของเลือด สร้างโปรทอมบิน เป็นน้ำมันสีเหลือง ทนต่อความร้อน ทนกรดแต่ไม่ทนกรดแก่ น้ำมันทอดซ้ำทำให้วิตามินเคสลายตัว
click to edit
K2 แบคทีเรียในลำไส้สังเคราะห์
K3 สังเคราะห์ขึ้น
K1 ในผักสีเขียว
อาหาร
พบในพืชผักที่มีใบสีเขียว น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันเมล็ดคำฝอย น้ำมันตับปลา ตับหมู ไข่แดง นม ผลิตภัณฑ์จากนม
การขาด
เลือดแข็งตัวช้า เกิดโรคเลือดไหลไม่หยุด
ทารกพบบ่อย เพราะแบคทีเรียในลำไส้น้อย ในนมมีน้อย
B5 กรดแพนโทเทนิก
B6 ไพริดอกซีน
B3 กรดนิโคทินิก
B7 ไบโอทิน
B2 ไรโบเฟลวิน
B9 กรดโฟลิก
B1 ไทอามีน
วิตามิน C กรดแอสคอร์บิก
click to edit
เป็นโคเอนไซม์ของ pyruvate dehydrogenase, α ketoglutarate dehydrogenase
ไทอาโซลเสียในเบสง่าย มีทองแดงเป็นตัวเร่ง พบมากในเมล็ดข้าวเจ้า ข้าวสาลี บริเวณที่มีสีน้ำตาล
วงแหวนไพริมิดีนและไทอาโซล ต่อกันด้วยพันธะเมทิลลิน
ต้องการมากเมื่อมีเมแทบอลิซึม
การขาด
รับอาหารที่ทำลายไทอามีน เช่น ปลาร้า ปลาน้ำจืด หอยลายดิบ
เกิดอาการโรคเหน็บชา
click to edit
การขาด
พบมากใน น้ำนม ไต หัวใจ ตับ ไข่ เนย
ผู้ที่ฟอกไตหญิงให้นมบุตรมากกว่า 1 คน ต้องการเพิ่ม
ผลึกรูปเข็มสีเหลืองปนแสด ทนต่อความร้อนและกรด เสียง่ายเมื่อถูกเบส แสงสว่างและUV เป็นโคเอนไซม์ของปฏิกิริยาออกซิเดชัน
ปากนกกระจอก
ระคายเคืองตา ตาสู้แสงไม่ได้ มองเห็นไม่ชัด
click to edit
ผลึกรูปเข็มสีขาว ทนความร้อน กรด เบส แสงสว่าง เป็นโคเอนไซม์ NAD+และNADP+ ทำหน้าที่ขนส่งไฮโดรเจนและอิเล็กตรอน ดูดซึมง่ายที่ลำไส้เล็ก
พบมากในเนื้อสัตว์ ตับ ผิวของ germ cell
การขาด
เจ็บที่ลิ้นปาก ลำคอ ลิ้นอักเสบ ลุกลามไปทางเดินอาหาร
โรคโลหิตจาง
เกิดโรค pellagra ท้องเดิน อาการทางประสาท ซึมเศร้า นอนไม่หลับ สับสน ผิวหนังถูกแดดเป็นสีแดงคล้ำ
มีอาการทางผิวหนัง
อาการทางประสาท
เป็นโรค4D เพราะในระยะสุดท้ายจะมีอาการ ท้องร่วง ผิวหนังอักเสบ อาการทางประสาท และตาย
click to edit
มีซัลเฟอร์เป็นองค์ประกอบ สังเคราะห์ในพืชและแบคทีเรียในลำไส้ เป็นน้ำมันสีเหลืองอ่อน เสียง่ายเมื่อถูก ความร้อน กรด เบส
สังเคราะห์โคเอนไซม์-เอ ทำหน้าที่สังเคราะห์ฮีม ถ้าขาดเป็นโลหิตจาง
สังเคราะห์กรดไขมัน ฟอสโฟลิพิด กรดอะมิโน สเตียร์รอยด์ฮอร์โมน
มีมากใน เนื้อไก่ เนื้อวัว ข้าวโอ๊ต ธัญพืช มะเขือเทศ พืชสีเขียว ไข่แดง ตับ ไต ยีสต์ ถั่ว กะหล่ำปลี
หากขาดจะอ่อนเพลีย เฉื่อยชา นอนไม่หลับ เวียนหัว ปวดศรีษะ ชาปลายมือปลายเท้า ท้อง น้ำตาลในเลือดต่ำ
click to edit
การขาด
มีอนุพันธ์ คือ ไพรอดอกซอล ไพริดอกซามีน
เป็นโคเอนไซม์ transminase รับส่งหมู่อะมิโน ในการเมตาบอลิซึมกรดอะมิโน
สังเคราะห์สารสื่อประสาท ฮอร์โมน เป็นโคเอนไซม์ฟอสโฟริเลส สลายไกลโคเจนในตับและกล้ามเนื้อ
เป็นโคเอนไซม์ในรูป pyridoxal prosphate (PLP)
เอนไซม์ phosphatase ตัดหมู่ฟอสเฟตออกก่อนดูดซึมที่ลำไส้เล็ก
มีมากที่ธัญพืชที่เสริมวิตามิน B6 เครื่องในสัตว์ ตับวัว ถั่วเหลือง
โรคขาดสารอาหาร
อาการอ่อนเพลีย เวียนศรีษะ คลื่นไส้ อาเจียน ปากนกกระจอก
click to edit
B12 โคบาลามีน
เป็นโคเอนไซม์ของปฏิกิริยาการเติมคาร์บอนไดออกไซด์ สำคัญในการเผาผลาญไขมัน โปรตีน สังเคราะห์กรดแอสคอร์บิก
พบใน ไข่แดง นม แป้งถั่วเหลือง เนย ถั่วลิสง ข้าวที่ไม่ผ่านการขัดสี เนื้อสัตว์ ตับ
ประกอบด้วยอิมมิดาโซล เชื่อมกับวงแหวนไทโอฟีน ป้องกันพิษจากไข่ขาวดิบ
click to edit
การขาด
ในร่างกายพบในรูปเกลือโฟเลต เป็นโคเอนไซม์ขนส่งหมู่ที่ประกอบด้วยคาร์บอน 1 อะตอม
พบในยีสต์ ตับ เครื่องในสัตว์ ผักใบเขียว ผลไม้
วงแหวนเทอริดีน กรดอะมิโนกลูทามิก กรดพาราอะมิโนเบนโซอิก เรียกว่า กรดเทอโรอิลโมโนกลูทามิก
เป็นโรคโลหิตจางชนิด megaloblastic anemia เม็ดเลือดแดงมีขนาดใหญ่
click to edit
การขาด
ขนส่งหมู่เมทิล เมตาบอลิซึมกรดอะมิโน เมทไทโอนีน โฮโมซีสเตอีน และเซอรีน จุลินทรีย์ในลำไส้สังเคราะห์ได้
เป็นโคเอนไซม์ของ methylmalonyl-COA mutase และ methionone systhase สังเคราะห์นิวคลีโอไทด์
กระตุ้นการเจริญเติบโตในเด็ก เพิ่มความอยากอาหาร
ได้จาก เนื้อสัตว์ ตับ ไต หัวใจ หอยแครง ไม่พบในพืช
ส่งผลต่อระบบประสาท มึนงง ความจำสั้น สมาธิสั้น ความจำเสื่อม กล้ามเนื้ออ่อนแรง หายใจสั้น ใจสั่น
หน้าที่
การขาด
ผลึกสีขาว รสเปรี้ยว ละลายน้ำได้ดี เป็นกรด
click to edit
ซ่อมแซม ป้องกัน รักษาไข้หวัด
ดูดซึมเหล็ก ขนส่งเหล็ก ไปตับ ม้าม ไขกระดูก
เป็นสาร antioxidant มีมากในผักผลไม้ประเภท ส้ม มะนาว ผักสีเขียว
ดูดซึมได้ดีในลำไส้เล็ก
click to edit
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เลือดออกตามลายฟัน โลหิตจาง เสียชีวิต
ได้รับมากอาจเกิดนิ่วในไต
โรคลักปิดลักเปิด
เกลือแร่ (Minerals)
click to edit
สมบัติที่สำคัญ
เกลือแร่หลัก
เกลือแร่ปริมาณน้อย
มีในร่างกายมากกว่า 5 กรัม ได้แก่ Ca P K Mg Na Cl S
Na ควบคุมปริมาณเลือด ความดันเลือด การทำงานของระบบประสาท การหดคลายตัวของกล้ามเนื้อ ได้รับมากความดันสูง
K หากขาดทำให้ความดันโลหิตสูง กระดูกพรุน หัวใจเต้นผิดจังหวะ นิ่วในไต กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Fe Cu I Zn Se Mn F Mo
click to edit
ธาตุที่มีวาเลนซีเหมือนกันจะแข่งขันกันดูดซึม
แร่ธาตุที่ส่งผลเสีย Pb Hg Cd
การละลายน้ำ ถ้าละลายได้ดีจะดูดซึมในลำไส้ได้ดี
สารอาหารบางชนิดจับกับเกลือแร่ทำให้ไม่ละลายน้ำ ดูดซึมได้น้อย วิตามินช่วยการดูดซึมเกลือแร่
หน้าที่
click to edit
ควบคุม กรด-เบส
ควบคุมสมดุลน้ำ
ส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์โมน เอนไซม์
เร่งปฏิกิริยา
ส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ กระดูก ฟัน