Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช, นิเวศน์บำบัด Milieu Therapy, :, - Coggle…
รูปแบบการบำบัดทางจิตเวช
พฤติกรรมบ ำบัด (BehaviorTherapy :)
เน้นการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้
ทฤษฎีการเรียนรู้มี 3 แบบ
-ทฤษฎีการวางเงื่อนไข = ให้รางวัล ใช้แรงเสริม
-
-การเรียนรู้ทางสังคม = การเลียนแบบต้นแบบ ทำตาม เรียนรู้ ปรัพฤติกรรม
-ทฤษฎีารเรียนรู้ = ถ้าน้อยไปให้เพิ่มสิ่งเร้า ถ้ามากไปให้เอาออก
หลักการ
การเรียนรู้เกิดจากเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการตอบสนอง
เทคนิคและวิธีการของพฤติกรรมบำบัด
Shaping Teachique = การฝึกพฤติกรรม
CounterConditioning = ฝึกการเผชิญปัญหา
Punishment = การลงโทษ
Assertive training = ให้ผู้ป่วยกล้าแสดงออก
Reimforcement = การเสริมแรงบวก แรงลบ
Self Monitoring = ดูแลกำกับทำด้วยตัวเอง
การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม (CBT)
คือ การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรม
กระบวนการรักษา CBT มี 6 ขั้นตอน
การฝึกทักษะ (Skills acquisition)
การสร้างเสถียรภาพของทักษะ (Skills consolidation) และการฝึกประยุกต์ใช้ทักษะ(application training)
การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์(Reconceptualization)
การประยุกต์ใ้โดยทั่วไป(generalization) และการธำรงรักษา(generalization)
การประเมินหลังการบ าบัดและการติดตาม
การประเมิน (psychological assessment)
จิตบำบัด(Psychotherapy)
รูปแบบจิตบำบัดมี 2 แบบ
จิตบ าบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
จิตบ าบัดแบบประคับประคอง (SupportivePsychotherapy)
ลักษณะของการบ าบัดทางจิต(จิตบ าบัด)
ิ
ตบา บดัรายบุคคล(Individual Psychotherapy)
จิตบำบัดกลุ่ม(Group Psychotherapy)
การรักษาความผิดปกติทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ด้วยการพูดคุยกับผู้ป่วย
ชนิดของจิบำบัด
Free-interaction group (กลุ่มแสดงออกเสรี)
Repressive interaction group (กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด)
Therapeutic Social Club (กลุ่มพบปะสังสรรค์)
Psychodrama (กลุ่มละครจิตบำบัด)
Didactic group (กลุ่มการสอน)
นางสาวนิภาพร วงศ์จำปา รหัสนักศึกษา612701053 ชั้นปีที่3 รุ่นที่36 เลขที่53
นิเวศน์บำบัด Milieu Therapy
ลักษณะของผู้ป่วยในกลุ่มกิจกรรมบำบัด
Dominant patient ผู้ป่วยประเภทแสดงตัวเก่งตลอดเวลา
Uninvolved patient ผู้ป่วยประเภทนั่งเงียบ ไม่สนใจ โลกส่วนตัว
Distracting patient ผู้ป่วยประเภทสับสน เบลอ หลอนพูดคนเดียว
Hostile patient ผู้ป่วยประเภทก้าวร้าวแสดงออกโดย แสง สี เสียง
องค์ประกอบการจัดกิจกรรมบำบัด
กิจกรรม (activity)
สมาชิกกลุ่ม(members)
สถานที่ (setting)
ผู้ช่วยผู้นำกิจกรรม(co-leader)
ผู้นำกลุ่มกิจกรรมบำบัด(leader)
ขั้นตอนการจัดกลุ่มกิจกรรม
ขั้นเตรียม = พวกอุปกรณ์ เช่น กระดาษ สี หรือ การเลือกผู้ป่วยให้เหมาะสมกับกิจกรรม
text
ขั้นประเมินผล
ขั้นดำเนินการ
วิธีจำกัดสิทธิพฤติกรรมผู้ป่วย
กลุ่มกิจกรรมบำบัด(group activity therapy)
ข้อด้อย = ผู้ป่วยบางรายอยู่โรงพยาบาลช่วงเวลาสั้นๆ ทำให้มีโอกาสเข้าร่วมกิจกรรมน้อย
ข้อดี = ประหยัดเวลา เกิดการเรียนรู้การอยู่ร่วนกันกับผู้อื่น
การใช้ยา (medication)
Tramadol
Valium
การกำจัดขอบเขต
การนำเข้าห้องแยก(physical restraints)
-การผูกยึดผู้ป่วย(physical restraints)
การกำจัดด้วยวาจา เช่น เรียกชื่อผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงดัง ชัดเจน
การจำกัดสิทธิ์พฤติกรรม
นิยมใช้กับผู้ป่วย
หนีออกจากโรงพยาบาล
มีพฤติกรรมรุนแรง เช่น ก้าวร้าว อาละวาด คลุ้มลั่ง
เพ้อ มึนงง สบสน
ทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
การออกแบบวาง แผนการจัดสิ่งแวดล้อมที่มุ่งส่งเสริมการบำบัดรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
: