Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบและ เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช - Coggle Diagram
รูปแบบและ เครื่องมือในการบำบัดทางการพยาบาลจิตเวช
นิเวศน์บำบัด (Milieu Therapy)
แนวคิดและหลักการ
ส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว
เน้น ให้ผู้ป่วยมีส่วนร่วมในการตัดสินใจวางแผนการดูแลและรักษา
เน้น Phycho social therapy
ครอบครัวของผู้ป่วยซึ่งเป็นส่วนหนึ่งที่มีบทบาท สำคัญในการดูแลผู้ป่วย
ความหมายของนิเวศน์บำบัด
การบำบัดรักษาด้วยการจัดสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบๆ ตัวผู้ป่วย
environment therapeutic หรือ therapeutic milieu
องค์ประกอบ
บรรทัดฐานทางสังคม (norms)
ยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติขณะรับการรักษาในโรงพยาบาล เพื่อให้ผู้ป่วยอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
ความสมดุล (balance)
ช่วยเหลือให้ผู้ป่วยดูแลรับผิดชอบตนเองตามความสามารถและขอบเขตที่ผู้ป่วยสามารถกระทำได้
โครงสร้าง (Structure)
สิ่งแวดล้อม สิ่งอำนวย ความสะดวกภายในหอผู้ป่วย การจัดกิจกรรมกลุ่มบำบัด
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (Limit setting)
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช เป็นหนึ่งในวิธีการจัดนิเวศน์สำหรับผู้ป่วยจิตเวชที่มีอาการอยู่ในระยะเฉียบพลัน
วิธีการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมผู้ป่วย
1.การจำกัดด้วยวาจา
เรียกชื่อผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงที่ดัง ชัดเจน
3.การใช้ยา (medication)
เป็นการใช้ยาเพื่อควบคุมอาการทางจิตเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอในการรักษาผู้ป่วยจิตเวช
2.การจำกัดขอบเขต
การผูกยึดผู้ป่วย (physical restraints)
การนำเข้าห้องแยก (seclusion)
4.กลุ่มกิจกรรมบําบัด (group activity therapy)
ประโยชน์
เรียนรู้และฝึกทักษะการสร้างสัมพันธภาพ
ลดการมีพฤติกรรมแยกตัว และการหมกมุ่น
ได้รับการยอมรับ การสนับสนุน และการให้กำลังใจ
โอกาสในการเสนอความคิดเห็น
มีโอกาสในการพัฒนาการเรียนรู้ต่างๆ
ความปลอดภัย (Safety)
ปลอดภัยด้านร่างกายและจิตใจ
ลักษณะของผู้ป่วยในกลุ่มกิจกรรมบำบัด
Uninvolved patient คือ ผู้ป่วยรู้สึกว่าตนเองไม่มีส่วนร่วม โดยผู้ป่วยมักแสดงออกด้วย
3.Hostile patient คือ ผู้ป่วยมีการแสดงพฤติกรรมก้าวร้าว ผู้ป่วยอาจแสดงน้ำเสียงดุดัน
1.Dominant patient คือ ผู้ป่วยที่มีลักษณะแสดงตัวเป็นจุดเด่นของกลุ่ม
Distracting patient คือ ผู้ป่วยที่ทำให้สมาชิกในกลุ่มสับสน เสียสมาธิ
บทบาทพยาบาล
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้ป่วย โดยพยาบาลควรแสดงออกด้วยการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ป่วย
วางแผนจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัดต่างๆ เพื่อส่งเสริม ฟื้นฟูสมรรถภาพหรืออาการของผู้ป่วยจิตเวช
เป็นผู้วางแผน ออกแบบสิ่งแวดล้อมภายในหอผู้ป่วยให้มีความเหมาะสม ปลอดภัย
ให้ความรู้เรื่องต่างๆ แก่ผู้ป่วยและครอบครัว เช่น ความรู้เรื่องโรค การรับประทานยา
พฤติกรรมบําบัด (Behavior Therapy)
หมายถึง การบำบัดทางจิตชนิดหนึ่งที่มุ่งเน้นการควบคุม พฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้
หลักการ
“การเรียนรู้เกิดจากเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้าและการ ตอบสนอง”
ลักษณะของทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ (Operant conditioning)
การเรียนรู้ทางสังคม (Social learning)
การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม (Classical conditioning)
เทคนิคและวิธีการของพฤติกรรมบําบัด
2.Reimforcement เป็นการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้แรงเสริมทางบวกหรือลดแรงเสริมลบ
3.Punishment เป็นการลดความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้สิ่งที่ไม่พึงปรารถนาหรือลดสิ่งเร้าที่ พึงพอใจ
1.Self Monitoring การควบคุมและรายงานผลตนเอง เป็นการประเมินตนเองตรวจสอบ
4.Shaping Teachique คือ การแต่งพฤติกรรมจากพฤติกรรมง่าย ๆไปสู่พฤติกรรมซับซ้อน
Sucessive approximation เป็นการใช้เทคนิคการเสริมแรงให้เกิดพฤติกรรมเป็นขั้นตอนจาก พฤติกรรมแรกไปสู่พฤติกรรมสุดท้าย
Chaining เป็นการนำพฤติกรรมย่อย ๆต่าง ๆ มาเรียงลำดับจากพฤติกรรมแรกจนถึงพฤติกรรมสุดท้ายและฝึกจากพฤติกรรมสุดท้ายขึ้นมา
Counter Conditioning เป็นการนำหลักการเรียนรู้แบบการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิค
Modeling technique ยึดถือเทคนิคการลดความกลัวหรือความวิตกกังวลโดยการให้ดู
ตัวต้นแบบ อาจใช้หลัก relaxation เข้าช่วยได้ด้วย
Assertive training เป็นการฝึกให้ผู้ป่วยกล้าแสดงออกถึงความรู้สึกที่ควรจะแสดงออก
การบําบัดทางความคิดและพฤติกรรม (Cognitive behavioral therapy ตัวย่อว่า CBT)
เป็นรูปแบบหนึ่งของจิตบำบัด ซึ่งดั้งเดิมออกแบบเพื่อรักษาโรคซึมเศร้า
ขั้นตอน 6 ขั้น
การฝึกทักษะ (Skills acquisition)
การสร้างเสถียรภาพของทักษะ (Skills consolidation) และการฝึกประยุกต์ใช้ทักษะ (application training)
การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์ (Reconceptualization)
การประยุกต์ใช้โดยทั่วไป (generalization) และการธำรงรักษา (maintenance)
การประเมิน (psychological assessment)
การประเมินหลังการบำบัดและการติดตาม
จิตบําบัด (Psychotherapy)
หมายถึง การรักษาความผิดปกติทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ด้วยวิธีการพูดคุยกับผู้ป่วย หรือ บางวิธีอาจไม่ใช้วาจา
มี 2 แบบ
จิตบําบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
แก้ไขกลไกทางจิตที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
ช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจความจริงของชีวิต
แก้ปัญหาความขัดแย้งของจิตใจ
จิตบําบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy)
เพื่อบรรเทาอาการโดยแก้ปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
เพื่อแก้ปัญหาหรือความขัดแย้งระดับจิตรู้สํานึก
เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
เพื่อช่วยเพิ่มพลังและประคับประคองให้แก่การทำงานของจิต
วิธีการ
การหันความสนใจไปสู่ภายนอก (Externalization of Interest)
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม (Environment manipulation) ที่ผู้ป่วยไม่สบายใจ
ให้แนวทาง การแนะแนว (Guidance)
การชักชวน จูงใจ (Persuasion) เพื่อให้ผู้ป่วยเปลี่ยนความเชื่อเดิม
ให้การสนับสนุน (Encouragement)
การแนะนํา (Suggest) เพื่อให้ผู้ป่วยเกิดการยอมรับและคล้อยตาม
ให้ความเชื่อมั่น ให้กําลังใจ (Reassurance)
การระบายอารมณ์ (Ventilation)
การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหวลง (Desensitization)
ลักษณะของจิตบําบัด
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
จิตบําบัดรายบุคคล (Individual Psychotherapy)
จิตบําบัดกลุ่ม (Group Psychotherapy)
ชนิดของจิตบําบัดกลุ่ม
Repressive interaction group (กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด)
Free-interaction group (กลุ่มแสดงออกอย่างเสรี)
Therapeutic Social Club (กลุ่มพบปะสังสรรค์)
Psychodrama (กลุ่มละครจิตบำบัด)
Didactic group (กลุ่มการสอน)