Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน ต่อมไทรอย์ทำงานมาก หรือต่อมไทรอยด์เป็นพิษ…
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน ต่อมไทรอย์ทำงานมาก หรือต่อมไทรอยด์เป็นพิษ หรือคอพอกเป็นพิษในหญิงตั้งครรภ์ :star:
สาเหตุ :<3:
โรคพลัมเมอร์ (Plummer’s disease
เนื้องอกเป็นพิษ (Toxic adenoma
โรคเกรฟ (Graves)
อาการและอาการแสดง :<3:
น้ำหนักไม่เพิ่มขึ้นทั้ง ๆ ที่รับประทานอาหารเท่าเดิมหรือเพิ่มขึ้น
มีอาการหิวบ่อยหรือกินจุ
อัตราการเต้นของชีพจรเร็ว โดยชีพจรขณะพักสูงกว่า 100 ครั้ง/นาที
ตาโปน (exophthalmos)
อัตราการเต้นของหัวใจเร็วโดยไม่ทราบสาเหตุ เกิน 100 ครั้ง/นาที
ี้ร้อน หงุดหงิด ตกใจง่าย อารมณ์แปรปรวน
ต่อมไทรอยด์มีขนาดใหญ่ขึ้น
อาการสั่น มือสั่น (tremor)
การวินิจฉัยโรค :<3:
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดตรวจ TSH จะต่ำ T3 uptake สูง T4 สูง ค่าปกติของ TSH = 0.35-5 mU/dl,FT4 = 0.8-2.3 ng/dl, Total T3 = 80-220 ng/dl
การตรวจเลือด เช่น CBC
การซักประวัติ
ผลกระทบ :<3:
ผลกระทบต่อมารดา
มีโอกาสเกิดภาวะความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์ หรือหัวใจล้มเหลวได้
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
ผลกระทบต่อต่อทารก
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์ (IUGR)
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
พร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด :fire: TSI
แนวทางการรักษา :<3:
การรักษาโดยยา
Methimazole
Adrenergic blocking agent (Inderal)
propythiouracil (PTU) 100-150 mg/day
Radioiodine therapy
การผ่าตัด
ไม่นิยม
ภาวะฉุกเฉิน (Thyroid storm) :<3:
หัวใจเต้นเร็ว ชีพจร 140 ครั้ง/นาที
คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ท้องเสีย
มีไข้ มากกว่า 38.5 องศาเซลเซียส มหลังจากการคลอดหรือการผ่าตัดในเวลาไม่เกิน 2-3 ชั่วโมง
สับสน ชัก หมดสติ
Tx. : - ยาต้านไทรอยด์ฮอร์โมน และ iodine
- การรักาาแบบประคับประคอง :fire: :fire:
กิจกรรมการพยาบาล :<3:
ระยะคลอด
ระยะที่ 1 ของการคลอด
อาการใจสั่น หายใจไม่สะดวก
จัดท่าศีรษะสูง (Fowler’s position)
ประเมินสัญญาณชีพทุก 1-2 ชั่วโมง
ดูแลให้ยาระงับปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
ประเมินสภาพของทารกในครรภ
ระยะที่ 2 ของการคลอด
ประเมินสัญญาณชีพทุก 10 นาที
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก 5 นาที
หลังตลอดฉีด Syntocinon
ห้ามใช้ยา methergin
ระยะหลังคลอด
ให้พักผ่อนช่วยเหลือกิจกรรม
ดูแลให้ได้รับยา ลดการทำงานของต่อมไทรอยด์ เช่น PIU
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
ให้นมบุตรได้ ยกเว้นมีภาวะผิดปกติของหัวใจและหลอดเหลือด
24 ชั่วโมงแรกหลังคลอด : อาการหายใจไม่สะดวกกล้ามเนื้อหัวใจ
อ่อนแรง เหนื่อย อ่อนเพลีย ใจสั่น
การวางแผนครอบครัว
แนะนำการปฏิบัติตัวของมารดาหลังคลอด
ประเมินสภาพทารก
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัว
การรับประทานยา
การรักษาความสะอาดของร่างกาย
การป้องกันอุบัติเหตุ
การพักผ่อน
การรับประทานอาหาร
การนับการดิ้นของทารกในครรภ
อธิบายให้ผู้ป่วยและญาตอารมณ์ที่เปลี่ยนแปลง
อธิบายเกี่ยวกับโรค