Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กระบวนการอนามยัชุมชนแบบองคร์วม - Coggle Diagram
กระบวนการอนามยัชุมชนแบบองคร์วม
๕.๓ วางแผนแก้ไขปัญหาสุขภาพของชุมชน
ลักษณะสำคัญของการวางแผน
ช่วยในการตัดสินใจ
ช่วยให้รู้ โอกาส อุปสรรค
ช่วยในการควบคุมการทำงาน
เป็นหน้าที่ของการจัดการ
ช่วยในการกำหนดแนวทาง/ทิศทางการทำงาน
วัตถุประสงค์ของการวางแผน
ช่วยกำหนดทิศทาง
ช่วยลดความไม่แน่นอน
ช่วยในการควบคุม
ช่วยลดความความสิ้นเปลืองของทรัพยากร
ประโยชนข์องการวางแผน
ผู้บริหารได้ทบทวนขอบเขต หน้าที่ ความรับผิดชอบได้อย่างชัดเจน
ช่วยกำหนดวัตถุประสงค์และทิศทางการดำเนินงาน
เป็นเครื่องมือใช้วัดความสำเร็จ
ช่วยให้หน่วยงานต่างๆ เห็นขอบเขตของปัญหาและหน้าที่
เป็นหลักในการดำเนินงาน สามารถตรวจสอบประสิทธิภาพและทิศทางการปฏบิตั
งานไดต้ลอดเวลา
ลักษณะของแผนที่ดี
ปฏิบัติได้จริงและมุ่งความสำเร็จตามเป้าหมาย 2. ชัดเจน+มรีายละเอยีด
ประหยัด+มีประสิทธิภาพ
ยดืหยนุ่และปรับเปลย่ีนได ้
เป็นทยี่อมรับ
ประเภทของแผนงาน
ตามระยะเวลา
(ระยะสั้น,ระยะปานกลาง,ระยะยาว)
ตาม
ขอบเขตพื้นที่ที่จะนำแผนไปดำเนินการ ได้แก่ แผนโลก,ภูมิภาค,ประเทศ,ภาค,จังหวัด,อำเภอ,ตำบล และหมู่บ้าน
ตามสายการบังคับบัญชา
ชนดิของแผนงาน ประเภทน ี้ไดแ้ก ่แผนระดับชาติ,ระดับกระทรวง, ระดับกรมหรือส านักงาน และระดับกองหรือฝ่าย
ตามหลักเศรษฐศาสตร ์
ได้แก่ แผนมหภาค,แผนรายสาขา
5.
ตามการใช้ประโยชน์
มี 2 ระดับ ได้แก่ แผนระดับ นโยบายกับแผนปฏิบัติการ
ระบบโครงสร้างแผน (Program structure)
แผนงาน (Program) :
เป็นแผนระดับกลุ่มงาน เช่น แผนงานจัดการขยะและสิ่งแวดล้อม แผนงานการพัฒนา ศักยภาพคนทุกช่วยวัย เป็นต้น
โครงการ/งาน (Project/Task) :
เป็นแผนที่แสดงถึง กิจกรรมต่างๆที่ต้องปฏิบัติและการใช้ทรัพยากรควบคู่กับ การดำเนินงาน เช่น โครงการสูงวัยใส่ใจสุขภาพ โครงการ เปลี่ยนขยะเป็นเงิน เป็นต้น
แผน (Plan)
: แผนรวมขององค์กร เช่น แผนพัฒนา เศรษฐกิจแห่งชาติ ิแผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ เป็นต้น
ระดับของการวางแผน
การวางแผนกลยทุธ์ (Strategic planning) : วัตถุประสงค์ (Objective)
แผนปฏิบัติการหรือแผนดำเนินงาน (Operation plan) : เป้าหมาย/วัตถุประสงค์เฉพาะ (Target)
การวางแผนระดับนโยบาย(Policy planning) : เป้าประสงค์ (Goal)
แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12
ยุทธศาสตร์ที่ 2
สร้างความเป็นธรรมและลดความ เหลื่อมล้ำในระบบบริการสขุภาพ
ยุทธศาสตร์ที่ 3
พัฒนาและสร้างกลไกเพื่อเพิ่ม ประสิทธิภาพการบรหิารจัดการ กำลังพลด้านสุขภาพ
ยุทุธศาสตร์ที่ 1
เร่งการเสรมิสร้างสุขภาพคนไทย เชิงรุก
ยุทธศาสตร์ที่ 4
พัฒนาและสรา้งความเข้มแข็งใน การอภิบาลระบบสุขภาพ
ตัวชี้วัด (Indicator)
:check:
เครื่องมือดำเนินงานมี 7 กลุ่ม
แสดงปัจจัยนำเข้า (Input Indicator)
แสดงการกระทำที่เกิดขึ้น (Process Indicator)
แสดงผลทไี่ดร้ับ (Output Indicator )
แสดงผลสำเร็จ (outcome Indicator )
ประสิทธิผล (Effectiveness)
ประสิทธิภาพ (Efficiency)
ผลกระทบ (Impact)
ประเภทของตัวชี้วัด
ตัวชี้วัดเชิงปริมาณ : จำนวน ความถี่ ร้อยละ อัตราส่วน
ตัวชี้วัดเชิงคุณภาพ : ระดับความรคู้วามสามารถ ความพึงพอใจ ฯลฯ
หลักการกำหนดตัวชี้วัดความสำเร็จ ของโครงการ
ตัวชี้วัดครอบคลุมทั้งประสิทธิภาพและประสิทธิผล มเีครอื่งมือวัดที่ดี
สามารถวัดระดับความสำเร็จได้ โดยนำมา เปรียบเทียบกับเป้าหมาย
กำหนดผลงานครอบคลมุวตัถปุระสงค์ วัดได้ทั้ง เชิงประมาณและเชิงคุณภาพ
:check:
ขั้นตอนในกระบวนการวางเเผน
:check:
ขั้นตอนที่ 3 ค้นหาทางเลือกในการแก้ปัญหา ใช้มีเเหล่งอ้างอิง เเล้วนำมาตัดสินใจเน้น มีส่วนร่วม
ขั้นตอนที่ 4 วางเเผนขั้นปฏิบัติงาน ร่างขั้นตอน เขียน Grantt’s chart
ขั้นตอนที่ 2 การกำหนดวัตถุปุระสงค์ และเป้าหมาย มีเเบบระยะสั้น ยาว
ขั้นตอนที่ 5 กำหนดงบประมาน /เขียนโครงการ
ขั้ันตอนที่ 1 วเิคราะห์สถานการณ์
:warning:
:check:
๕.๔ ดำเนินการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
แผนงานย่อยที่ ประกอบด้วยกิจกรรมหลายกิจกรรม หรืองานหลายงาน ที่ระบุ รายละเอียดชัดเจนครบ องค์
ขั้นตอน
1.วิเคราะห์ปัญหา หาสาเหตุ ใช้ต้นไม้
วิเคราห์ผู้มีส่วนร่วม
วิเคราะห์ปัญจัยภายในภายนอก SWOT : จุดเเข็ง จุดอ่อน โอกาส ข้อจำกัด
:check:
:check:
รูปแบบการเขยีนโครงการ
6.สถานที่ดำเนินการ
ระยะเวลาดำเนินการโครงการ
กลุ่มเป้าหมาย เช่น ผู้สูงอายุในชุมชน จำนวน ๖๐ คน
:green_cross:
วิธีดำเนินการ
PDCA
4 more items...
4.หนว่ยงาน/ผู้รับผิดชอบโครงการ
:red_cross:
งบประมาณ:
:check:
3 more items...
:green_cross:
วัตถุประสงคโ์ครงการ
SMART
5 more items...
การประเมนิโครงการ
หลักการและเหตผุล กล่าวมาให้หมด ให้สมเหตุสมผล
11.ผลที่คาดว่าจะได้รับ
ชื่อโครงการ : เจาะจง สั้น กระทัดรัด
เทคนิคที่สำคัญในการดำเนินงานชุมชน
การติดตามและควบคุม (Monitoring and control)
การประสานงาน (Cooperation)
การมอบหมายงาน (Delegation)
:green_cross:
:green_cross:
๕.๕ การประเมินผลการแก้ไขปัญหาสุขภาพชุมชน
ม่งเน้น พิจารณาด้านค่าใช้จ่าย (Cost) ประโยชน ์(Benefit)
ประโยชน์ของการประเมินผลโครงการ
:green_cross:
ปรัปรุงเเผนให้สอดคล้องกับปัญหา
3.จัดสรรทรัพยากร บุคคล เหมาะสม
ช่วยทราบ ความก้าวหน้า จุดอ่อน จุดเเข็๋ง เพื่อจะนำมาปรับเปลี่ยน
1.ได้ข้อมูลไปใช้วางเเผน
ทราบถึงความสำเร็จของงาน
:red_cross:
:check:
• ประสิทธิภาพ (Efficiency)
• ประสิทธิผล (Effectiveness)
• ความก้าวหน้า (Progress)
• ผลกระทบ (Impact)
• ความเพียงพอ (Adequacy)
• ความยั่งยืน (Sustainability)
• ความสอดคล้อง (Relevance)
:warning:
ประเภทของการประเมินผล (Type of Evaluation)
แบ่งตามจุดมุ่งหมายการประเมินผล
การประเมินความก้าวหน้า (Formative evaluation) ประเมินนไปเรื่อยๆหลังทำไปสักระยะ 1
การประเมินผลสรุป (Summative evaluation) คือ การประเมินหลังเสร็จสิ้นโครงการ
:check:
แบ่งตามช่วงเวลาของการประเมิน
-การประเมินกอ่นดำเนินโครงการ
การประเมนิความเป็นไปได ้(Feasibility study)
การประเมนิบรบิท (Context evaluation)
การประเมนิความตอ้งการ (Needs assessment)
:green_cross:
1 more item...
-การประเมินผลในช่วงระหว่างการดำเนินโครงการ
การประเมินความก้าวหน้าของโครงการ (Progress evaluation
การประเมินกระบวนการ (Process evaluation)
การประเมินติดตามกำกับ (Monitoring evaluation)
-การประเมินผลหลังเสร็จสิ้นโครงการ
2.การประเมินผลลพัธ์หรือผลกระทบ (Outcome evaluation )
1 more item...
1.การประเมินผลผลิต (Output/Product evaluation)
1 more item...
:check:
1 more item...
:check:
1 more item...
:check:
1 more item...
:check:
1 more item...
แบ่งตามหลักยึดในการประเมินค่า
ตามเป้าหมายหลัก บรรลุตามวัตถุประสงค์หรือไม่
ไม่ตามวัตถุประสงค์ เช่น ผลลัพธ์ที่เกิดกับด้านอื่น
:check:
ก
ระบวนการประเมิน (Evaluation process) :g
reen_cross:
กำหนดตัวชี้วัดและเกณฑ์
ออกแบบการประเมิน
กำหนดประเด็นการประเมิน
เก็บรวบรวมข้อมูล
ศึกษารูปแบบการประเมิน
พัฒนาเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล
วิเคราะห์โครงการที่จะประเมิน
การวิเคราะห์ข้อมูล
การสรปุผลและอภิปรายผลการประเมิน
10.การเขียนรายงานการประเมิน