Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การผดุงครรภ์ - Coggle Diagram
การผดุงครรภ์
บทที่ 2 ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับการคลอด
นิยามการคลอด
ชนิดการคลอด
การคลอดปกติ
การคลอดผิดปกติหรือการคลอดยาก
ระยะการคลอด
stage of expulsion
stage of placenta
stage of dilatation
early puerperium
องค์ประกอบการคลอด
-- > 6P
ทฤษฎีการเริ่มต้นการคลอด
กลไกการคลอด
Engagement
Descent
Flexion
Internal rotation
Extension
Restitution / External rotation
Expulsion
บทที่ 6 การประเมินภาวะสุขภาพทารกในครรภ์
การประเมินสภาพทารกในครรภ์
การนับการดิ้นทารก
NST
CST
BPP
การทดสอบความสมบูรณ์ของปอดทารก
Ultrasonography
บทที่ 14 การพยาบาลผู้คลอดที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะคลอด
ภาวะถุงน้ำคร่ำแตกก่อนกำหนด (PROM)
ภาวะจ็บครรภ์คลอดก่อนกำหนด (Preterm labor pain)
ตั้งครรภ์เกินกำหนด (Postterm pregnancy)
มดลูกแตก (Rupture of the uterus)
สายสะดือพลัดต่ำ/สายสะดือย้อย (Prolapsed of cord)
การคลอดเฉียบพลัน (Precipitate labor)
น้ำคร่ำอุดกั้นหลอดเลือดในปอด (Amniotic fluid embolism)
บทที่ 10 การพยาบาลหญิงมีครรภ์ที่มีโรคร่วมกับการตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นโรคหัวใจ
หญิงตั้งครรภ์ที่เป็นเบาหวานขณะตั้งครรภ์
ภาวะโลหิตจางในขณะตั้งครรภ์
โลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
โลหิตจางจากการขากกรดโฟลิก
โลหิตจางจากการขาด Vit B12
ภาวะขาด G6PD
Aplastic anemia
Thalassemia
โรคต่อมไทรอยด์ในหญิงตั้งครรภ์
การติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะ
ท่อปัสสาวะและกระเพาะปัสสาวะอีกเสบ
กรวยไตอักเสบเฉียบพลัน
การติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจ
หอบบหืด
วัณโรคปอด
บทที่ 17 การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะแทรกซ้อน
ภาวะขาดออกซิเจน (Asphyxia)
Respiratory distress syndrome (RDS)
การบาดเจ็บจากการคลอด (Birth injury)
Brachail plexus palsy
Erb-Duchene paralysis
Klumpke's paralysis
Facial nerve palsy
Cephalhematoma
Caput succedaneum
ภาวะเลือดออกในสมอง
กระดูกไหปลาร้าหัก
กระดูกแขนขาหัก
บทที่ 4 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 2,3,4 ของการคลอด
ระยะที่ 2 ของการคลอด
การเฝ้าคลอดระยะที่ 2 ของการคลอด
การเตรียมคลอดและการทำคลอดปกติ
บทบาทผู้ช่วยทำคลอด
บทบาทผู้ทำคลอด
การดูแลและส่งเสริมสุขภาพหญิงในระยะที่ 3
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาและทารกในระยะที่ 3
การประเมินสภาวะทั่วไปของผู้คลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินจำนวนเลือดที่ออกทางช่องคลอด
ประเมินการลอกตัวของรก
ประเมินการฉีกขาดของแผลฝีเย็บ
ประเมินด้านจิตสังคม
การคลอดรก
การตรวจรกและเยื่อหุ้มทารก
การป้องกันอันตรายต่อสุขภาพมารดาในระยะที่ 3
การดูแลและส่งเสริมสุขภาพหญิงในระยะที่ 4
การประเมินภาวะสุขภาพมารดาและทารกในระยะที่ 4
การประเมินสภาวะทั่วไปของผู้คลอด
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก
ประเมินจำนวนเลือดที่ออกทางช่องคลอดและแผลฝีเย็บ
ประเมินสัมพันธภาพระหว่างมารดากับทารก
แนวทางการดูแลและส่งเสริมสุขภาพมารดาและทารกในระยะที่ 4
การป้องกันอันตรายต่อสุขภาพมารดาในระยะที่ 4
บทที่ 5 การพยาบาลทารกแรกเกิด
การพยาบาลทารกแรกเกิดทันที
การดูแลทารกแรกเกิดทันที
บทที่ 8 การพยาบาลสตรีที่มีภาวะเสี่ยงในระยะตั้งครรภ์
ความผิดปกติของทารกในครรภ์ (Fetal anomalies)
ทารกตายในครรภ์ (Dead fetus)
หญิงตั้งครรภ์อายุมาก (Elderly gravida)
หญิงตั้งครรภ์วัยรุ่น (Teenage pregnancy)
การตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ (Unwanted pregnancy)
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงในครอบครัว
หญิงตั้งครรภ์ที่มีปัญหาความรุนแรงทางเพศ
บทที่ 7 การใช้ยาทางสูติกรรมในระยะคลอด
การใช้ยาบรรเทาอาการปวด
การใช้ยาสลบและยาระงับความรู้สึก
การใช้ยาเร่งคลอดและการใช้ยายับยั้งการคลอด
บทที่ 16 การพยาบาลมารดาที่มีภาวะแทรกซ้อนในระยะหลังคลอด
Hematoma
มดลูกไม่เข้าอู่ (Subinvolution)
การติดเชื้อในระยะหลังคลอด
การติดเชื้อของแผลฝีเย็บ (Perineal infection)
การติดเชื้อของเยื่อบุโพรงมดลูก (Metriosis / Endometriosis)
Parametriosis / Pelvic cellulitis
การติดเชื้อของเยื่อบุช่องท้องหลังคลอด (Puerperal peritonitis)
Phlebitis
การติดเชื้อที่เต้านมและหัวนม (Mastitis)
Breast abcess
การเปลี่ยนแปลงทางจิตใจในระยะหลังคลอด
ภาวะจิตผิดปกติหลังคลอด (Puerperalpsychosis)
บทที่ 12 การพยาบาลสตรีที่มีโรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
หัดเยอรมัน (Rubella)
ซิฟิลิส (Syphilis)
โรคหนองใน (Gonorrhea)
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
แผลริมอ่อน (Chancroid)
ช่องคลอดอักเสบจากเชื้อแบคทีเรีย (Bacteria vaginosis)
โรคเริมที่อวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
เอดส์ (HIV)
บทที่ 13 การพยาบาลผู้คลอดที่มีความผิดปกติเกี่ยวกับปัจจัยการคลอด
การคลอดยาก
การคลอดยากจากปัจจัยด้านทารก
ความผิดปกติเกี่ยวกับท่าของทารก
ความผิดปกติเกี่ยวกับส่วนนำทารก
ภาวะ CPD
การตั้งครรภ์แฝด
การคลอดยากจากปัจจัยหนทางคลอด
ความผิดปกติของหนทางคลอด
การไม่ได้สัดส่วนกันของศีรษะทารกกับช่องเชิงกราน
การคลอดยากจากปัจจัยของแรง
มดลูกหดรัดตัวชนิด Hypertonic
มดลูกหดรัดตัวชนิด Hypotonic
มารดาขาดแรงเบ่ง
การคลอดยากจากปัจจัยทางด้านจิดใจของมารดา
บทที่ 3 การพยาบาลผู้คลอดในระยะที่ 1 ของการคลอด
การรับใหม่ผู้คลอด
การซักประวัติ
ประวัติการเจ็บป่วยในอดีต
ประวัติที่นำผู้คลอดมาโรงพยาบาล
การเจ็บครรภ์คลอด
มีน้ำเดิน/ถุงน้ำคร่ำแตก
สารคัดหลั่งจากช่องคลอด
การตรวจร่างกาย
การตรวจครรภ์
การตรวจภายใน
การตรวจวินิจฉัยทารกที่มีกระหม่อมหลังเป็นส่วนนำ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
การพยาบาลระยะที่ 1
การพิจารณาอาการสำคัญของผู้คลอด
การดูแลผู้คลอดเมื่อแรกรับ
การให้ข้อมูลหรือความรู้แก่ผู้คลอด
หลักการพยาบาลผู้คลอดในระยะเฝ้าคลอด
บทที่ 11 การพยาบาลสตรีที่มีเลือดออกในระยะตั้งครรภ์
การแท้ง (Abortion)
การตั้งครรภ์ไข่ปลาอุก (Molar pregnancy)
การตั้งครรภ์นอกมดลูก (Ectopic pregnancy)
ภาวะรกลอกตัวก่อนกำหนด (Abruption placenta)
ภาวะรกเกาะต่ำ (Placenta previa)
บทที่ 1 บทบาทของพยาบาลผดุงครรภ์
บทบาทและหน้าที่ของพยาบาลในการพยาบาลครอบครัว
เป็นผู้ทำหน้าที่แทน (Surrogate)
เป็นนักวิจัย (Researcher)
เป็นผู้แปลข้อมูลให้ชัดเจน (Clarifier or interpreter)
เป็นแบบอย่าง (Role mode)
เป็นผู้ปรับเปลี่ยนสิ่งแวดล้อม (Environmental modifier)
เป็นผู้จัดการเกี่ยวกับการดูแลรักษา (Case manager)
เป็นผู้รายงานทางระบาดวิทยา (Epidemiologist)
เป็นผู้ปกป้องสิทธิของครอบครัว (Family adocate)
เป็นที่ปรึกษา (Consultant)
เป็นผู้ร่วมงาน (Collaborator)
เป็นผู้ประสานงาน (Co-ordinator)
เป็นผู้ดูแลสมาชิกที่เจ็บป่วยและนิเทศผู้ดูแล (Nursing care and supervise caregiver)
เป็นผู้ให้คำปรึกษา (Counselor)
เป็นผู้ให้ความรู้ทางด้านสุขภาพ (Health educator)
ขอบเขตของพยาบาลในการผดุงครรภ์
ขอบเขตของการปฏิบัติงานของผดุงครรภ์ในประเทศไทย
ขอบเขตของการปฏิบัติงานของผดุงครรภ์ในต่างประเทศ
ขอบเขตการปฏิบัติการผดุงครรภ์
มาตรฐานการพยาบาลและการผดุงครรภ์ 2544
มตฐ 3
การพัฒนาคุณภาพการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
มตฐ 4
การจัดการ การดูแลต่อเนื่อง
มตฐ 2
การรักษาสิทธิผู้ป่วย จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ
มตฐ 5
การบันทึกและรายงาน
มตฐ 1
การใช้กระบวนการพยาบาลในการปฏิบัติการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทที่ 9 การพยาบาลสตรีที่มีภาวะแทรกซ้อนเนื่องจากการตั้งครรภ์
หญิงตั้งครรภ์ที่มีอาการแพ้ท้องรุนแรง (Hyperemesis gravidarum)
หญิงตั้งครรภ์ที่มีความดันโลหิตสูงขณะตั้งครรภ์ (PIH)
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์แฝด (Multiple pregnancy)
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะครรภ์แฝดน้ำ (Polyhydramnios)
หญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะน้ำคร่ำน้อย (Oligohydramnios)
บทที่ 15 การพยาบาลผู้คลอดที่ทำสูติศาสตร์หัตถการ
การชักนำการคลอด (Induction of labor)
การช่วยคลอดด้วยคีม (F/E)
การช่วยคลอดด้วยเครื่องสุญญากาศ (V/E)
การช่วยคลอดท่าก้น (Breech delivery)
การผ่าตัดคลอดทางหน้าท้อง (C/S)