Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติหลอดเลือดเเละการไหลเวียนเลือด - Coggle…
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีความผิดปกติหลอดเลือดเเละการไหลเวียนเลือด
ความดันโลหิตสูง
ปัจจัยที่มีผล
Resistance
2.ปริมาณเลือดในร่างกาย
1.ปริมาณเลือดที่ออกจากหัวใจ
แบ่งได้ 3 ระดับ
Prehypertension 120/80 - 139/89 mmhg
Stage 1 140/90 - 159/99 mmhg
Stage 2 160/100 mmhg
การรักษา
1.การรักษาแบบไม่ใช้ยา
การปรับพฤติกรรม เช่น การคุมอาหาร ลดเกลือ ออกกำลังกาย ควบคุมอารมณ์
การรักษาแบบใช้ยา
กลุ่ม beta blocker
กลุ่ม calcium channel blocker
thiazide กลุ่มยาขับปัสสาวะ
อาการ : ปวดศีรษะรุนเเรง มึนงง คลื่นไส้ อาเจียน ชัก เกร็ง หมดสติ
การประเมิน
ประวัติครอบครัว
อายุ / น้ำหนัก
ภาวะเครียด / ปัจจัยที่มีการส่งเสริม
โรคหลอดเลือดสมอง Stroke
ประเภท
Ischemia stroke
Hemorrhagic stroke
สาเหตุ
การตีบของหลอดเลือด
การอุดตันของหลอดเลือด
ปัจจัยเสี่ยง
มีโรคประจำตัว DM,HT
สูบบุหรี่ สารเสพติด
ไขมันในเลือดสูง ไม่ออกกำลังกาย
อาการ : อ่อนเเรง ปากเบี้ยว พูดไม่ชัด
การประเมิน
1.ประวัติ : ระยะเวลาที่มีอาการ การเจ็บป่วยที่ผ่านมา โรคประจำตัว การใช้ยา
2.การตรวจร่างกาย : ภาวะอ่อนเเรง เวียนหัวร่วมกับเดินเซ พูดไม่ชัด ลิ้นเเข็ง ปวดศีรษะ อาเจียน
3.การตรวจพิเศษ CT scan , MRI
การรักษา
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
ความดันโลหิต ไม่เกิน 185/110 mmhg
ยาต้านการเเข็งตัวของเลือด heparin / warfarin
Thrombopheblitis การอักเสบของผนังหลอดเลือด
อาการ
ซีด ปวดน่องเวลากระดกนิ้วเท้า
ปวด บวม แดง บริเวณที่มีการอุดตัน
การรักษา
1.ให้ยาขยายหลอดเลือด / ยาละลายลิ่มเลือด
การผ่าตัดขยายหลอดเลือดหรือเอาก้อนเลือดออก
การพยาบาล
ไม่ใช้ยาคุมกำเนิด
กำจัดปัจจัยเสี่ยง เช่น ความเครียด การสูบบุหรี่
ใส่ผ้ายืด / ถุงน่องรัดขาไว้
ลดน้ำหนัก
ห้ามวิ่ง เดินนาน ยกน้ำหนัก
สังเกตุอาการเลือดออกจากการได้รับยา
Throboangitis Obliteranns ( TAO )หลอดเลือดดำเเละเเดงอักเสบ
อาการ
ปวดน่องเวลาเดิน เดินได้ไม่ไกล
เป็นตะคริวที่เท้าเเละน่องบ่อย หลังเดินหรือหลังออกกำลังกาย
ปวดบริเวณขา หลังเท้ารุนเเรง
การพยาบาล
การผ่าตัด
ให้ยา NSAID เมื่อมีอาการหลอดเลือดดำอักเสบ
ให้ยาขยายหลอดเลือด แก้ปวด
รักษาแผลเรื้อรังที่เท้า
งดสูบบุหรี่
Peripheral arterial disease หลอดเลือดแดงส่วนปลายตีบ
สาเหตุ
แรงดันของความดันโลหิต
การอักเสบจากโรคภูมิคุ้มกัน
โรคติดเชื้อ
สารเคมีในร่างกาย
ปัจจัย
ประวัติการป่วยในครอบครัว
เพศ / อายุ
ขาดการออกกำลังกาย / รับประทานอาหารไม่ถูกต้อง
เบาหวาน / อ้วนลงพุง
ความดันโลหิตสูง
ไขมันในเลือดสูง
การสูบบุหรี่
การพยาบาล
2.การรักษาด้วยยา
ยาละลายลิ่มเลือด
ยาขยายหลอดเลือด/ beta - blocker
ยาต้านเกล็ดเลือด Aspirin
1.การดูเเลรักษาแบบประคับประคอง
สวมรองเท้าพอดี
หลีกเลี่ยงอาหารที่ให้พลังงานมากเกินไป / มันมากเกิน
หลีกเลี่ยงการประคบน้ำแข็ง / น้ำร้อน
ออกกำลังกาย รับประทานอาหารที่มีวิตามินบี ควบคุม DM.HT
การเดิน
การผ่าตัด
Balloon angioplasty ต่อสายเข้ากับหลอดเลือดขาหนีบ
Bypass ต่อเส้นเลือดเทียมเข้ากับส่วนที่อุดตัน
การพยาบาลหลังผ่าตัด
1.นอนราบขาเหยียดตรง ห้ามงอ ห้ามหมอนรอง
สังเกตุอาการเลือดออก / จากการได้รับยา
3.คำแนะนำป้องกันกลับเป็นซ้ำ เช่น งดบุหรี่ ควบคุม DM,HT,ไขมัน
Deep vein thrombosis ( DVT ) หลอดเลือดดำตีบ
สาเหตุ
2.เลือดในหลอดเลือดมีการไหลเวียนช้า เช่น นั่ง / นอนนานๆ หลังผ่าตัด
3.การที่เลือดเเข็งตัวง่าย
1.หลอดเลือดดำได้รับอันตราย เช่น อุบัติเหตุกระดูกหัก กล้ามเนื้อถูกกระเเทก
ปัจจัยเสี่ยง
การตั้งคครรภ์ หลังคลอด
การใช้ยาคุมกำเนิด / ยาเสพติด
การนั่งรถ เครื่องบิน นั่งไขว่ห้าง
หลังผ่าตัดทำให้นอนนาน
อัมพาต / การเช้าเฝือก
คนแก่ นอนไม่เคลื่อนไหว 3 วัน
การตรวจร่างกาย
คลำหลอดเลือดจะปวด
ไข้ต่ำๆ
จับปลายเท้ากระดกขึ้น ( Homans sign ) จะปวด
การตรวจพิเสษ
บวมที่เท้าข้างเดียว กดเจ็บที่น่อง
การรักษา
รับประทานวิตามินอีช่วยลดการเกิดโรค
ลดปัจจัยที่ทำให้เกิดลิ่มเลือด / ป้องกันเส้นเลือดขอด
ให้ยาละลายลิ่มเลือด
Varicose vein หลอดเลือดดำขอด
ปัจจัย
การใส่ถุงน่องรัดไป
การตั้งครรภ์
การยืนนนานๆ
กรรมพันธุ์
อาการ
อาจมีแผลที่เท้า เนื่องจากขาดเลือดไปเลี้ยง
เสี่ยงต่อการบาดเจ็บหรือติดเชื้อได้ง่าย
ปวดบวม คล้ำ ถ้ารุนเเรง
เมื่อยล้าผิดปกติ
ปวดตื้อๆ ที่ขา กล้ามเนื้อเป็นตะคริว
การรักษา
การนำหลอดเลือดที่ขอดออก
สวมถุงน่องไว้ประมาณ 1 เดือน เวลานอนยกขาขึ้น ออกกำลังกายสม่ำเสมอ เพื่อให้เลือดไหลเวียนดีขึ้น
ห้ามนั่งไขว่ห้าง
คลายผ้ายืดวันละ 3 ครั้ง เเละพันใหม่ทุกครั้ง
หลีกเลี่ยงการยืนนานๆ
การคลำชีพจรของขาทุก 2 ชั่วโมง
ลุกเคลื่อนไหวทุก 305-45 นาที เมื่อนั่งนาน
รักษาแบบประคับประคอง