Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
รูปแบบและ เครื่องมือในการบำบัดทางการ พยาบาลจิตเวช, พฤติกรรมที่ต้องการ…
รูปแบบและ เครื่องมือในการบำบัดทางการ
พยาบาลจิตเวช
นิเวศน์บำบัด (Milieu Therapy)
วิธีการรักษาผู้มีความเจ็บป่วยทางด้านจิตใจ
มีด้วยกันหลากหลายวิธี
การรักษาด้วยยาและ
ไฟฟ้า จิตบำบัด
พฤติกรรมบำบัด
ครอบครัวบำบัด
ความหมาย
การออกแบบวาง แผนการจัดสิ่งแวดล้อมที่มุ่งส่งเสริมการบำบัดรักษาผู้ป่วยอย่างมีประสิทธิภาพ
ความสำคัญ
การบำบัดจะทำให้ผู้ป่วยเรียนรู้วิธีการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมให้เหมาะสม เช่น การเรียนรู้ที่จะควบคุมอารมณ์โกรธ การเรียนรู้การสร้างสัมพันธภาพกับบุคคลอื่น
แนวคิดและหลักการ
การส่งเสริมให้ผู้ป่วยได้มีโอกาสเรียนรู้จากสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว เช่น
การเรียนรู้ใน เรื่องการมีปฏิสัมพันธ์กับบุคลากร เช่น จิตแพทย์ พยาบาล และผู้ช่วยเหลือผู้ป่วย
การดูแลรักษาผู้ป่วยจิตเวช โดยเริ่มจากการผสมผสานแนวคิด
วิธีการดูแลหลายรูปแบบเข้าด้วยกัน เช่น แนวคิดการรักษา แนวคิดการรักษาด้านสังคม
และ แนวคิดการรักษาด้านพฤติกรรม
องค์ประกอบของนิเวศน์บำบัด
1.ความปลอดภัย (Safety) สิ่งที่สำคัญอันดับแรกในการจัดนิเวศน์บำบัด คือ ความ
ปลอดภัย โดย ความปลอดภัย หมายความรวมทั้งความปลอดภัยด้านร่างกายและจิตใจ
2.โครงสร้าง (Structure) หมายถึง ลักษณะทางกายภาพของสิ่งแวดล้อม สิ่งอำนวยความสะดวก
ภายในหอผู้ป่วย
3.บรรทัดฐานทางสังคม (norms) คือ สิ่งที่ผู้ป่วยต้องยึดถือเป็นแนวทางในการปฏิบัติขณะรับ
การรักษาในโรงพยาบาล
4.ความสมดุล (balance) คือ ความสมดุลระหว่างความเป็นอิสระและไม่เป็นอิสระของผู้ป่วย ซึ่งเป็นสิ่งที่บ่งชี้ถึงความเป็นผู้เชี่ยวชาญของพยาบาล
5.การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช (Limit setting) การจำกัดสิทธิและพฤติกรรม
ของผู้ป่วยจิตเวช
การจำกัดสิทธิและพฤติกรรมของผู้ป่วยจิตเวช
มีพฤติกรรมรุนแรง เช่น อาละวาด ก้าวร้าว หรือคลุ้มคลั่ง 2.มีพฤติกรรมการทำร้ายร่างกายตนเองและผู้อื่น
3.มีภาวะเพ้อ มีนงง และสับสน 4. มีความคิดหนีออกจากโรงพยาบาล
แนวทางในการพิจารณา การจำกัดสิทธิและพฤติกรรม
ประเมินลักษณะของพฤติกรรมผู้ป่วยว่ามีความต้องการในการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมมากน้อยเพียงใด
ประเมินผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นต่อตัวผู้ป่วยและบุคคลอื่นๆ ภายในหอผู้ป่วย
การเลือกวิธีการในการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมต้องดำเนินการอย่างมีขั้นตอนที่ชัดเจน
วิธีการจำกัดสิทธิและพฤติกรรมผู้ป่วย
1.การจำกัดด้วยวาจา เรียกชื่อผู้ป่วยด้วยน้ำเสียงที่ดัง ชัดเจน
2.การจำกัดขอบเขต การผูกยึดผู้ป่วย และการนำเข้าห้องแยก
3.การใช้ยา (medication) เป็นการใช้ยาเพื่อควบคุมอาการทางจิตเป็นสิ่งที่เกิดขึ้นได้เสมอในการรักษา
ผู้ป่วยจิตเวช
4.กลุ่มกิจกรรมบำบัด (group activity therapy)
ขั้นตอนการจัดกลุ่มกิจกรรมบำบัด
1.ขั้นเตรียมการ
2.ขั้นดำเนินการ
2.1 ขั้นเริ่มต้นกลุ่ม (Orientation phase) 2.2 ขั้นดำเนินการกลุ่ม (Working phase)
2.3 ขั้นสิ้นสุดกลุ่ม (Termination phase)
ขั้นประเมินผล
3.1 บรรยากาศกลุ่ม 3.2 กระบวนการกลุ่ม
3.3 เนื้อหา 3.4 บทบาทผู้นำกลุ่มและผู้ช่วยผู้นำกลุ่ม
พฤติกรรมบำบัด (Behavior Therapy)
ความหมาย
หมายถึง การบำบัดทางจิตชนิดหนึ่งที่มุ่งเน้นการควบคุมพฤติกรรม ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมที่สังเกตได้
หลักการของพฤติกรรมบำบัด
การเรียนรู้เกิดจากเชื่อมโยงระหว่างสิ่งเร้า
และการตอบสนอง
ลักษณะของทฤษฎีการเรียนรู้
การเรียนรู้โดยการวางเงื่อนไขแบบการกระทำ(Operant conditioning)เชื่อว่าพฤติกรรมของบุคคลถูกควบคุมผลที่ได้รับ นั่นคือ ถ้ามีการได้รับการเสริมแรงจะทำให้เกิดพฤติกรรมนั้น ๆ อีก
การเรียนรู้ทางสังคม (Social learning)
1.การเรียนรู้ด้วยการวางเงื่อนไขแบบดั้งเดิม
(Classical conditioning)
เทคนิคและวิธีการของพฤติกรรมบำบัด
Self Monitoring การควบคุมและรายงานผลตนเอง เป็นการประเมินตนเองตรวจสอบพฤติกรรมที่เป็นปัญหา
Reimforcement เป็นการเพิ่มความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้แรงเสริมทางบวกหรือลดแรงเสริมลบทันทีที่เกิดพฤติกรรมที่พึงพอใจ
Punishment เป็นการลดความถี่ของพฤติกรรมโดยการให้สิ่งที่ไม่พึงปรารถนาหรือลดสิ่งเร้าที่พึงพอใจ
Shaping Teachique คือ การแต่งพฤติกรรมจากพฤติกรรมง่าย ๆไปสู่พฤติกรรมซับซ้อน
Modeling technique ยึดถือเทคนิคการลดความกลัวหรือความวิตกกังวลโดยการให้ดูตัวต้นแบบ อาจใช้หลัก relaxation เข้าช่วยได้ด้วย
Assertive training เป็นการฝึกให้ผู้ป่วยกล้าแสดงออกถึงความรู้สึกที่ควรจะแสดงออก
การนำพฤติกรรมบำบัดไปใช้ในการรักษา
Conduct behavior
ผู้ป่วย Depend on Alcohol, Drug abuse
เด็กปัญญาอ่อน (Mental retardation) ให้แรงเสริมบวก หรือลดแรงเสริมลบ เพิ่ม
Obesity
Phobia
Psychogenic pain
Schizophrenia paronoid sociopathy
การบำบัดทางความคิดและพฤติกรรมCBT
เป็นรูปแบบหนึ่งของจิตบำบัด ซึ่งดั้งเดิมออกแบบเพื่อรักษาโรคซึมเศร้า แต่ปัจจุบันใช้รักษาอาการทางจิตอื่น ๆ ด้วย ซึ่งมีประสิทธิผล โดยแก้ปัญหาปัจจุบันและเปลี่ยนความคิดและพฤติกรรมที่ไร้ประโยชน์
กระบวนการรักษา CBT มีขั้นตอน 6 ขั้น
1.การประเมิน (psychological assessment)
2.การเปลี่ยนความคิดที่ใช้อธิบายเหตุการณ์ (Reconceptualization)
3.การฝึกทักษะ (Skills acquisition)
4.การสร้างเสถียรภาพของทักษะ (Skills consolidation) และการฝึกประยุกต์ใช้ทักษะ
5.การประยุกต์ใช้โดยทั่วไป (generalization) และการธำรงรักษา (maintenance)
6.การประเมินหลังการบำบัดและการติดตาม
จิตบำบัด (Psychotherapy)
ความหมาย
หมายถึง การรักษาความผิดปกติทางด้านจิตใจหรืออารมณ์ด้วยวิธีการพูดคุยกับผู้ป่วยหรือ บางวิธีอาจไม่ใช้วาจา
โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ผู้ป่วยรู้จักตนเอง เข้าใจตนเอง เข้าใจผู้อื่น ยอมรับตนเองและผู้อื่น
รูปแบบจิตบำบัด มี 2 แบบ
จิตบำบัดแบบหยั่งเห็น (Insight Psychotherapy)
1.1 เพื่อแก้ปัญหาความขัดแย้งของจิตใจเฉพาะเรื่อง (ในระดับจิตไร้สำนึก)
1.2 เพื่อแก้ไขกลไกทางจิตที่ทำให้เกิดพยาธิสภาพ
1.3 เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยเข้าใจความจริงของชีวิต
จิตบำบัดแบบประคับประคอง (Supportive Psychotherapy)
2.1 เพื่อบรรเทาอาการโดยแก้ปัญหาเฉพาะอย่างใดอย่างหนึ่ง
2.2 เพื่อแก้ปัญหาหรือความขัดแย้งระดับจิตรู้สำนึก
2.3 เพื่อช่วยให้ผู้ป่วยทนต่อภาวะตึงเครียด
2.4 เพื่อช่วยเพิ่มพลังและประคับประคองให้แก่การทำงานของจิต
วิธีการของจิตบำบัด
ให้ความเชื่อมั่น ให้กำลังใจ (Reassurance)
ให้การสนับสนุน (Encouragement)
ให้แนวทาง การแนะแนว (Guidance)
การหันความสนใจไปสู่ภายนอก (Externalization of Interest)
การจัดการกับสิ่งแวดล้อม (Environment manipulation)
การแนะนำ(Suggest)
การชักชวน จูงใจ (Persuasion)
การระบายอารมณ์ (Ventilation)
การลดความอ่อนไหวหรือลดพฤติกรรมอ่อนไหว
ลง(Desensitization)
ลักษณะของจิตบำบัด
จิตบำบัดรายบุคคล (Individual Psychotherapy)
จิตบำบัดกลุ่ม (Group Psychotherapy)
ชนิดของจิตบำบัดกลุ่ม
Didactic group (กลุ่มการสอน) การทำกลุ่มแบบนี้ต้องอาศัย
ความรู้เป็นหลัก
Therapeutic Social Club (กลุ่มพบปะสังสรรค์) เลือกผู้แทนของตนขึ้นมาแล้วผู้แทนเหล่านี้มีส่วนช่วยใน การบริหารกิจกรรมต่างๆ
Repressive interaction group (กลุ่มปลุกเร้าความเก็บกด) ให้ผู้ป่วยได้แสดงพฤติกรรมออกมาในรูปของกิจกรรมที่มี ประโยชน์
Free-interaction group (กลุ่มแสดงออกอย่างเสรี) โดยกระตุ้นให้ผู้ป่วยแสดงความรู้สึกออกมาอย่างอิสระในกลุ่ม รวมทั้งแสดงปฏิกิริยาสัมพันธ์กับสมาชิกอื่น ๆในกลุ่ม
Psychodrama (กลุ่มละครจิตบำบัด) ในผู้ป่วยแสดงละครโดยมีจุดมุ่งหมายให้ระบายอารมณ์ ความรู้สึกนึกคิดและปัญหา ออกมาในรูปของการแสดง ทำให้เข้าใจปัญหาของตนเองได้ดีขึ้น
พฤติกรรมที่ต้องการ ลดพฤติกรรมที่ต้องการ การทำโทษ หรือลดสิ่งเร้าที่พึงพดใจ
(application training)
นางสาวจิตรลดา แปชน รหัสนักศึกษา612701015 เลขที่15