Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077…
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
รายที่มารดา เป็นพาหะหรือ มีการอักเสบ ของตับเรื้อรัง
Hepatitis Bcore antigen (HBcAg) ส่วนแกนกลางมี DNA ที่รูปร่างกลม ซึ่งจะตรวจไม่พบในเลือดหรือ สารคัดหลั่งของร่างกาย แต่จะพบในนิวเคลียสตับของสตรีต้ังครรภ์ที่ ติดเชื้อ
Hepatitis B e antigen (HBeAg) : ส่วนประกอบย่อยที่เกิดจากกระบวนการเผาผลาญแปรสภาพของ HBcAgในกระแสโลหิต พบได้เฉพาะบุคคลที่มี HBsAg เป็นบวก เท่านั้น และสามารถติดต่อและแพร่เชื้อได้มากกว่าร้อยละ 50
Hepatitis Bsurface antigen (HBsAg) :ส่วนที่เป็นเปลือกนอกของไวรัส สามารถแพร่กระจายเชื้อผ่าน ทางเลือด น้ำลาย น้ำตา สารคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำอสุจิ น้ำคร่ำ น้ำ ปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
–ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบีประมาณ 60-150 วัน
ไตรมาสที่ 1 และ 2 จะ ถ่ายทอดเชื้อ ไวรัสสู่ทารก ได้ร้อยละ 10
ไตรมาสที่3 ถ่ายทอดสู่ ทารกได้ร้อย ละ 75
–มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อ ในรายที่มีอาการรุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ผลกระทบการติดเชื้อไวรัสตับอักเสบบี
-เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
-การตกเลือดก่อนคลอด
-การคลอดก่อนกำหนด
-ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรรักษา
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติการเจาะน้ำคร่ำ
หากปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000IU/mL TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง GA 28-32สัปดาห์
ระยะหลังคลอด
TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์ หลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT
HBIG(400IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีน ภายใน 7วนั และให้ซ ้าภายใน 1 เดือนและ 6เดือน
ทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universalprecaution
Exclusivebreastfeedingหากไม่มีรอยแผล
บทบาทพยาบาลผดุงครรภ์
Hx.ประวัติ การได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
อาการ : ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ตัวตา เหลือง
ส่งตรวจเลือด
ป้องกันการแพร่กระจาย
UniversalPrecaution
ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
ทารก : Suction ให้เร็ว หมดทำความสะอาด
BF
คุมกำเนิด ตรวจสุขภาพประจำปี
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
Virus
–การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปาก
–แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
–ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
–ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7วันก่อนผื่นขึ้น จนถึง 7วันหลังผื่นขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติกาสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
2.ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
-IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มีผื่นขึ้นหรือ ภายใน 7-10 วันหลังผื่นขึ้น
-ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อน ออกผื่น
–ไข้ต่ำๆ
–Koplik'sspot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้ายเม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
–ผื่นแดงเล็กๆ (erythematousmaculopapular)
–ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลง มาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
หูหนวก หัวใจพกิาร ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะน าให้ยุติ การต้ังครรภ์ “Therapeutic abortion”รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจ พจิารณาฉีด Immunoglobulin
-แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
-แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
-ถ้ามีไข้แนะนำ รับประทานยา paracetamalตามแพทย์สั่ง
ซิฟิลิส (Syphilis)
Treponema pallidum
เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางรอยฉีกขาดของผนังช่องคลอด
แพร่กระจายผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง
มีการอักเสบของปลายหลอดเลือดเล็ก ๆ
เกิดการอุดตันของรูหลอดเลือด ผิวหนังขาดเลือด ตายและเกิดแผล
แพร่ผ่านรกโดยตรง และ ขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
: การตรวจ VDRL หรือ RPR
: FTA-ABS(Fluorescent Treponemal Antibody Absorption Test)
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
อาการและอาการแสดง
Primary syphilis : หลังรับเชื้อ 10-90วนั แผลริมแข็งมีตุ่มแดง แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
Secondary syphilis: ทั่ว ตัวผ่ามือผ่าเท้าไข้ปวด ตามข้อข้ออักเสบ ต่อ น้ำเหลืองโต ผมร่วง
Latent syphilis: ไม่แสดงอาการ
Tertiary or late syphilis: ท าลายอวัยวะภายในเช่น หัวใจ และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4เดือน การคลอดก่อนกำหนด ทารกในครรภ์โตช้า ทารกบวมน้ำทารกตาบอด
Congenital syphilis อาการแบ่งออกเป็น2 ระยะ คือ
ระยะแรก พบตั้งแต่คลอดถึง 1 ปี น้ำหนักตัวน้อย ตับม้ามโต ต่อมน้ำเหลืองโต ผิวหนังฝ่า มือฝ่าเท้าพองและลอกน้ำมูกมาก เสียงแหลม “wimberger’s sign” ปลายส่วนบนกระดูก tibia กร่อนทั้งสองข้าง
ระยะหลัง พบอายุมากกว่า 2 ปี แก้วตาอักเสบ (interstitial keratitis) ฟันหน้ามีรอยแหว่งเว้าคล้ายจอบ (Hutchinson ’s teeth) หูหนวก จมูกยุบ หน้าผากนูน กระดูกขาโค้งงอผิดรูป
การรักษา
1.การรักษาระยะต้น : ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM คร้ังเดียว แบ่งฉีดสะโพก ข้างละ 1.2 mU :อาจลดอาการปวด โดย ผสม 1% Lidocaine0.5-1 ml
2.การรักษาระยะปลาย :ให้ยาBenzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ ละคร้ัง นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU :อาจลดอาการปวดโดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การพยาบาล
ระยะ ตั้งครรภ์
อธิบายความสำคัญของการคัดกรอง ความเสี่ยงของโรค ผลต่อทารกในครรภ์
ส่งคัดกรอง VDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์28-32 สัปดาห์หรือ ห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำ มาฝากครรภต์ามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6และ 12เดือน
แนะนำรักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำพาสามีมาตรวจคัดกรอง
ดูแลด้านจิตใจ
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว เจาะเลือดจากสายสะดือทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะ หลังคลอด
ระยะหลังคลอด สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก แนะนำ รับประทานยาและกลับมาตามนัดติดตามผลการรักษา ให้คำแนะนำการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35