Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิตามิน Vitamin, นางสาวปนัดดา เหลาแตว เลขที่ 38 รหัสนักศึกษา 622801039 -…
วิตามิน
Vitamin
คือ
สารชีวโมเลกุลที่ร่างกายต้องการ แต่ไม่ใช่ปริมาณมาก
ไม่ให้พลังงาน
จำเป็นต้องมี ขาดไม่ได้
ควบคุมปฏิกิริยาเมแทบอลิซึม ในร่างกาย
ความต้องการในแต่ละวัน
Dietary Reference Intakes (DRIs)
เป็นปริมาณสารอาหารโดยประมาณที่
ร่างกายต้องการ
Esterimated Average Requirement (EAR)
คือค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ได้รับทำให้ประชากรร้อยละ 50 มีสุขภาพดีตามช่วงอายุ และเพศ
Recommended Dietary Allowance (RDA)
ค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ร่างกายต้องการต่อวัน ของประชากรร้อยละ 97-98
Tolerable Upper Intake Level (UL)
ปริมาณสารอาหารสูงสุดที่ร่างกายรับ
ได้โดยไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
วิตามินที่ละลายในไขมัน
(Fat solublevitamins)
ทนความร้อน ละลายในไขมัน ดูดซึมพร้อมอาหารจำพวกไขมัน
วิตามินเอ
(retinol;vitamin A)
เป็นสารประกอบพอลิไอโซพรีนอยด์ (polyisoprenoid)
ส่วนใหญ่เป็นไอโซเมอร์แบบรูปทรานทั้งหมด เรียกว่า A1
โพรวิตามินเอ (Provitamin A)
เบตา แคโรทีน (Beta Carotene)
พบมากในผักผลไม้ที่มีสีส้มเหลือง ในผักสีเขียวจัด
ตำลึง
ชะอม
แครอท
มะละกอ
จะถูกเปลี่ยนเป็นเรตินาลที่ผนังลำไส้เล็ก
เบตา แคโรทีน เปลี่ยนเป็นวิตามินเอ ได้น้อยกว่า 50%
หน้าที่
รักษาความคงสภาพของเนื้อเยื่อบุผิว
ต้านออกซิเดชัน(antioxidant) บีตา แคโรทีน
ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดในผู้สูบบุหรี่
ป้องกันเซลล์เติบโตผิดปกติ ป้องกันการเกิดมะเร็ง
การมองเห็น เกี่ยวข้องกับเซลล์รับภาพจอตา (ratina)
rod cell สำหรับการมองเห็นในที่มีแสงสลัว
cone cell สำหรับมองเห็นภาพสีที่แสงสว่าง
ความต้องการ
เรตินอลพบมากใน ตับ ไข่แดง น้ำมันปลา นม
ร่างกายต้องการวิตามินเอ(retinol) วันละ 1 มก.
ภาวการณ์ขาดวิตามินเอ
เริ่มแรก
สูญเสียความไวต่อแสงสีเขียว
เกิดโรคตาบอดกลางคืน
ระยะยาว
เยื่อบุตาอักเสบ
(xerophthalmia)
เยื่อตาขาวและกระจกตาแห้ง
เลือดออกในตา
ตาบอด
โรคโลหิตจาง (aniamia)
วิตามินดี (Calciferol : vitamin D)
คือ
เป็นสารพวกสเตอรอยด์มี 2 รูปคือ D2 และ D3
D3 สังเคราะห์จาก 7 – dehydrocholesterol
ที่อยู่ใต้ผิวหนัง เมื่อถูกแสงแดด (UVB)
D2 สังเคราะห์จาก ergostrerol
ไก่ไข่
นม
ยีสต์
หน้าที่
ช่วยในการสร้างกระดูกและฟัน
กระตุ้นการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟตจากหลอดไต
ร่วมกับฮอร์โมนพาราไทรอยด์ในการรักษาระดับแคลเซียมในเลือด
ภาวะขาด
ขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัสในการสร้างกระดูก
เกิดโรคกระดูกอ่อน(กระดูกพรุน)ในเด็ก
กระดูกเปราะ(กระดูกน่วม)ในผู้ใหญ่
เสี่ยงต่อโรคมะเร็งลำไส้ใหญ่ เต้านม ต่อมลูกหมาก
ร่างกายขาด Mg หรือ Ca ทำให้ดูดซึมวิตามินดี ได้น้อยลง
วิตามินอี (α-tocopherol : vitamin E )
คือ
เป็นสารพวกแอลกอฮอล์ไม่อิ่มตัว
ไวต่อการถูกออกซิไดส์
ดูดซึมได้ดีในลำไส้เล็ก
พบใน
น้ำมันวีทเจอร์ม(wheat germ oil)
น้ำมันดอกคำฝอย
น้ำมันรำ
น้ำมันเมล็ดฝ้าย
ในพืชสีเขียวมีแต่ไม่มาก
เป็นสารต้านอนุมูลอิสระ(antioxidant)
วิตามินเค (Coagulation vitamin : vitamin K)
คือ
เกี่ยวข้องกับการแข็งตัวของเลือด
เป็นน้ำมันสีเหลือง ทนความร้อน ทนต่อความเป็นกรด แต่ไม่ทนต่อกรดแก่ ด่างที่ผสมแอลกอฮอล์ ไม่ทนต่อแสงสว่าง
อาหารที่มีวิตามินเค
พืชผักที่มีใบสีเขียว
ผักกระเฉด
ผักโขม
กะหล่ำปลี
หญ้าอัลฟัลฟ่า
บร็อคโคลี่
หน่อไม้ฝรั่ง
สาหร่ายทะเล
น้ำมัน
น้ำมันถั่วเหลือง
น้ำมันเมล็ดคำฝอย
น้ำมันตับปลา
ตับหมู ไข่แดง
นม และผลิตภัณฑ์จากนม
เนย (butter)
เนยแข็ง (cheese)
โยเกิร์ต
วิตามินละลายน้ำ
( Water soluble vitamins)
ละลายในน้ำได้ ทำให้ไม่เหมาะสมในร่างกาย และกำจัดโดยไต
วิตามิน B- คอมเพล็กซ์
ไทอามีน (thiamine;B1)
คือ
เป็นโคเอนไซม์ ของ pyruvate dehydrogenase , α ketoglutarate
dehydrogenase
ร่ายกายต้องการมากเมื่อมีเมแทบอริซึม
ไทอาโซล มี pH เป็นเบส
พบใน
บริเวณผิวนอกที่มีสีน้ำตาล
เมล็ดข้าวจ้าว
เมล็ดข้าวสาลี
การขาดวิตามิน B1
ทำให้คนเป็นโรคเหน็บชา
สัตว์เส้นประสาทอักเสบ
ไรโบเฟลวิน (riboflavin:B2)
คือ
เป็นผลึกรูปเข็มสีเหลืองปนแสด ทนต่อความร้อนและกรด
เสียง่ายเมื่อถูกเบส แสงสว่างและ UV
หน้าที่
เป็นโคเอนไซม์ของปฏิกิริยาออกซิเดชัน
พบใน
น้ำนม
ตับ
ไต
หัวใจ
ไข่
เนย
การขาดวิตามิน B2
ปากนกกระจอก
ระคายเคืองตา
กรดนิโคทินิก (niacin:B3)
คือ
ผลึกรูปเข็มสีขาว ทนความร้อน กรด เบส แสงสว่าง
เป็นส่วนประกอบของโคเอนไซม์ NAD+และ NADP+ที่ทำหน้าที่ขนส่งไฮโดรเจนและอิเล็กตรอน
ถูกดูดซึมง่ายที่ลำไส้เล็ก
พบใน
เนื้อสัตว์
ตับ
ผิวของ Germ cell
การขาดวิตามิน B3
เกิดโรค pellagra มีอาการท้องเดิน
อาการทางประสาท
ซึมเศร้า
นอนไม่หลับ
สับสน
ผิวหนังถูกแดดเป็นสีแดงคล้ำ
กรดแพนโทเทนิก
(pantothenic acid ;B5)
คือ
มีซัลเฟอรเ์ป็นองคป์ระกอบ
สังเคราะห์ในพืชและแบคทีเรียในลำไส้
เสียง่ายเมื่อถูกความร้อน กรด เบส
หากขาด
อ่อนเพลีย เฉื่อยชา นอนไม่หลับ เวียนหัว ปวดศีรษะ ชาปลายมือปลายเท้า
พบใน
เนื้อไก่ เนื้อวัว ไข่แดง ตับ ไต ยีสต์
ข้าวโอ๊ต ธัญพืช มะเขือเทศ พืชสีเขียว ถั่ว กะหล่ำปลี
ไพริดอกซีน (pyridoxine : B6)
ชนิด
ไพรอดอกซอล
ไพริดอกซามีน
คือ
เป็นโคเอนไซม์อยู่ในรูป pyridoxal prosphate(PLP)
สังเคราะห์สารสื่อประสาท ฮอร์โมน
เป็นเอนไซม์ฟอสโฟริเลศ ที่สลายไกลโคเจนในตับและกล้ามเนื้อ
พบใน
สัตว์ ตับวัว
ถั่วเหลือง
หากขาด
อ่อนเพลีย เวียนศีรษะ คลื่นไส้อาเจียน ปากนกกระจอก
ไบโอทิน (biotin ; B7)
คือ
ประกอบด้วยอิมมิดาโซล เชื่อมกับวงแหวนไทโอฟิน
ป้องกันพิษจากไข่ขาวดิบ
พบใน
ไข่แดง นม แป้ง ถั่วเหลือง เนย ถั่วลิสง
มีมากในเนื้อสัตว์ ตับ
โคบาลามีน (cobalamin:B12)
คือ
เป็นโคเอนไซม์ของ methylmalonyl-CpAmutase และ methionine systhase
เมทาบอลิซึมกรดอะมิโน เมทไทโอนีน โฮโมซิสเตอีน และเซอรีน
พบใน
ตับ ไต หัวใจ เนื้อสัตว์ หอยแครง
หากขาด
ส่งผลต่อระบบประสาท มึนงง ความจำสั้น สมาธิสั้น กล้ามเนื้ออ่อนแรง ใจสั่น
กรดแอสคอร์บิก
(ascobicacid :วิตามินC)
คือ
ผลึกสีขาว รสเปรี้ยว ละลายน้ำได้ดี เป็นกรด
หน้าที่
สังเคราะห์และรักษาเนื้อเยื่อ รักษาไข้หวัด
ช่วยในการสังเคราะห์ carnitine , neurotransmitters , collagen
ดูดซึมเหล็ก
พบใน
ผักผลไม้ประเภทส้ม มะนาว ลูกเกด ลูกเบอร์รี่ ผักสีเขียว
หากขาด
เกิดโรคลักปิดลักเปิด
อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร เลือดออกตามลายฟัน ฟันโยก ปวดเหงือก โลหิตจาง
ได้รับมากอาจเกิดนิ่วในไต
เกลือแร่ (Minerals)
คือ
สารอนินทรีย์ที่ร่างกายขาดไม่ได้
พบในร่างกายประมาณ 20 ชนิด
สมบัติที่สำคัญ
การละลายน้ำ
ละลายน้ำดีจะดูดซึมได้ดี
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดของเกลือแร่
ธาตุที่มีวาเลนซีเหมือนกัน จะแข่งกันดูดซึมในลำไส้เล็ก
แร่ธาตุที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
โลหะหนัก Pb Hg Cd
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเกลือแร่กับเส้นใย อาหาร
สารอาหารบางชนิด ทำให้ไม่ละลาย ดูดซึมได้น้อย
วิตามินช่วยการดูดซึมเกลือแร่
หน้าที่
เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ กระดูก ฟัน
เป็นส่วนประกอบของโปรตีน ฮอร์โมน เอนไซม์
ควบคุมความเป็นกรด เบส
ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
เร่งปฏิกิริยา
นางสาวปนัดดา เหลาแตว เลขที่ 38 รหัสนักศึกษา 622801039