Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการ พยาบาล(4.4-4.5), นางสาวณัฐชา เต็มนอง 36/1 เลขที่35…
กฎหมายวิชาชีพการ พยาบาล(4.4-4.5)
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
กฎหมายวิชาชีพ
จำเป็นต่อทุกวิชาชีพ
ควบคุมสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพ
ให้ปฏิบัติตามมาตรฐาน สร้างความ ศรัทธาให้ผู้รับบริการ
โครงสร้างพระราชบัญญัติวิชาชีพ
เป็นกฎหมายปกครองตามพระราช บัญญัติ
พระราชบัญญัติพ.ศ.2528
ความสําคัญ
1.อาชีพมีความจำเป็นต่อสังคม
2.มีการอบรมวิชาชีพ ยาวนานพอ สมควร
3.บริการแก่ผู้รับบริการตาม บรรทัดฐาน
4.จรรยาบรรณการประกอบวิชาชีพ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
6.องค์กรวิชาชีพ ควบคุมสมาชิก ของวิชาชีพ
การพยาบาล
การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการ ดูแล ฟื้นฟู ป้องกัน ส่งเสริมสุขภาพ
การผดุงครรภ์
การดูแลช่วยเหลือหญิงตั้งครรภ์
ทำคลอด
ทารกแรกเกิด
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันความผิด ปกติ
ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
กาคประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การสอน แนะนำ ให้คำปรึกษาเกี่ยว กับสุขภาพ
กระทำต่อร่างกาย จิตใจ แก้ปัญหา ความเจ็บป่วย
กระทำตามวิธีที่กำหนดในการรักษา โรคเบื้องต้น และให้ภูมิคุ้มกัน
ช่วยเหลือแพทย์รักษาโรค
ประเมิน วินิจฉัยปัญหา วางแผน ปฏิบัติ ประเมินผล
พนักงานเจ้าหน้าที่
ให้อำนาจเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบใบ อนุญาตค้นหลักฐานโดยไม่ต้องขอ ให้ศาลออกหมายค้น
การตรวจค้นต้องแสดงบัตรพนักงาน ให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง
เจ้าหน้าที่มีอำนาจต่อผู้ไม่ให้ความ สะดวกมีความผิด
สภาการพยาบาล ฐานะของสภาการ พยาบาล (มาตราที่6)
เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและ พาณิชย์
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย
นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทน นิติบุคคลร่วมรับผิดฐานะตัวกลาง
กฎหมายพ.ร.บ. ไม่สามารถฟ้องล้ม ละลาย
วัตถุประสงค์สภาการ พยาบาล(มาตรา7)และอำนาจ หน้าที่สภาการพยาบาล (มาตรา8) รายได้ของสภาการ พยาบาล(มาตรา9)
งบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียน บำรุง ค่าธรรมเนียม
การหารายได้ของสภาการพยาบาล
รายได้จากเงินบริจาค
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย (หมวด2 มาตรา11-13)
สมาชิกสามัญ
การพ้นสภาพสมาชิก
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา11
สมาชิกกิตติมศักดิ์
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวนอายุ
ประกอบอาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
โรคต้องห้าม
โรคจิต โรคประสาท
ติดยาเสพติดรุนแรง
ติดสุราเรื้อรัง
โรคที่น่ารังเกียจต่อสังคม
เอดส์
กามโรค
โรคเท้าช้าง
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในประเทศ สัญชาติไทยและ ไม่ใช่คนไทย
จบพยาบาล
เป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จในต่างประเทศ สัญชาติไทย
เป็นสมาชิกสามัญ
จบพยาบาล
สอบขึ้นทะเบียน
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ ตนจบ
สำหรับไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จ การศึกษ
สำเร็จก่อน หลัง6กันยายน 2558
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบ วิชาชีพ
พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ใบอนุญาตหมดอายุ
การพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา13
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา18
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ไม่เคยถูกสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ไม่เคยล้มละลาย
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการ พยาบาล
นายกสภา
ดำเนินกิจการ
เป็นผู้แทนสภา
เป็นประทานในการประชุม
เลขาธิการสภา
รับผิดชอบงาน
ควบคุมเจ้าหน้าที่สภา
รับผิดชอบการดูแลทะเบียน
ควบคุมทรัพย์สินสภา
สภานายกพิเศษ
รักษาการตามพระราชบัญญัติ
แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ออกกฎกระทรวง กำหนดค่า ธรรมเนียม
ให้ความเห็นชอบมติกรรมการ
การดำเนินการของคณะกรรมการ สภา
ประชุมคณะกรรมการสภา
เรื่องทั่วไป
เรื่องสำคัญ
การลงมติ
เรื่องทั่วไป เสียงข้างมาก
เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ
ความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
เห็นชอบ
ไม่แทงคำสั่งภายใน 15วันถือเห็น ชอบ
ไม่เห็นชอบ
แทงคำสั่งไม่เห็น ชอบภายใน15วัน
การพ้นตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษา
การเข้าแทนตำแหน่งกรรมการสภา
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ห้ามผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ
มีข้อกำหนดแห่งวิชาชีพ
มีการลงโทษ กรณีละเมิด
ข้อยกเว้นผู้ไม่มีใบประกอบวิชาชีพ แต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
กระทำต่อตนเอง
ดูแลบุคคลอื่นให้พ้นทุกข์ทรมาน
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทน
ไม่ฉีดสารใดๆเข้าร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย
นักศึกษาต้องอยู่ภายใต้การนิเทศ จากผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ใบอนุญาตใน ประเทศของตน สภาจะออกใบ อนุญาตชั่วคราวไม่เกิน1ปี
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ 4หมวด
หมวดที่1 หลักทั่วไป
หมวดที่2 ประกอบอาชีพการ พยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่3 โฆษณาประกอบวิชาชีพ
หมวดที่4 ปกิณกะ
ความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
ผู้เสียหายกล่าวหาต่อสภา
กรรมการสภากล่าวโทษต่อสภา
อายุความการกล่าวโทษ
สภาส่งเรื่องพิจารณา คณะกรรมการ สภาพิจารณาคดีมีมูลและ อนุกรรมการสอบสวน
คณะกรรมการสภาตัดสิน
หน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมและ อนุกรรมการสอบสวน
เก็บรวบรวมข้อมูลข้อเท็จจริงว่าคดีมี มูลหรือไม่ แล้วนำส่งให้คณะ กรรมการสภาตัดสิน
หากคดีมีมูลให้สอบสวนดำเนินการ สอบสวน
อายุความ กล่าวโทษกำหนด3ปี และมีกำหนด1ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้ กระทำ
ประเด็นที่1
เกิดเหตุและรู้ตัวผู้กระทำ 1ม.ค.41 อายุความจะมีอยู่ถึง31ธ.ค.42
ประเด็นที่2
เกิดเหตุและรู้ตัวผู้กระทำ 1ม.ค.41 รู้ตัว10 ม.ค.41อายุความจะมีอยู่ ถึง9ม.ค.42
ประเด็นที่3
เกิดเหตุ 1ม.ค.41 รู้ตัวผู้ กระทำ1พ.ย.43อายุความจะมีอยู่ ถึง31ธ.ค.43
พิจารณาสอบสวน ให้สิทธิคัดค้าน การแต่งตั้งอนุกรรมการ
รู้เห็นเหตุการณ์
มีส่วนได้ส่วนเสีย
เหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือญาติเกี่ยวข้องกับ บุพการี
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้กล่าวหา
การสอบสวนต้องยื่น7วันนับตั้งแต่ ทราบเหตุ หากทราบภายหลัง7วัน สามารถคัดค้านแต่งตั้งได้
เมื่อพิจารณาคดีของสภา การยอม ความไม่มีผล การพิจารณาคดีมีสิทธิ นำเอกสารหลักฐานมาต่อสู้คดี
การลงมติของสภา คำสั่งสภาคือ อุทธรณ์ไม่ได้
ผู้ประกอบวิชาชีพรับคำสั่งโทษ ต้อง หยุดประกอบวิชาชีพทันที
ถูกเพิกถอใช้ใบประกอบวิชาชีพ ไม่มีสิทธิประกอบวิชาชีพชั่วคราว
เมื่อศาลสั่งโทษจำคุก ต้องเพิ่มโทษ เป็นเพิกถอนใบอนุญาต
มาตรา43
บุคคลเพิกถอนต้องหยุดประกอบ วิชาชีพ
หากผู้อื่นเข้าใจว่ามีสิทธิประกอบวิชา ชีพถือป็นการละเมิด
การขอทะเบียนใหม่หลังถูกเพิกถอน ใบอนุญาต
ต้องพ้น2ปี คำสั่งเพิกถอนใบ อนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่1 สามารถยื่นขอ ครั้งที่2 หลังครบ1ปี
พนักงานเจ้าหน้าที่
ต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลที่ เกี่ยวข้อง
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
สถานที่ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติงาน
สถานที่มีเหตุผลสมควร
สถานที่สอบสวน
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
ประกอบวิชาชีพไม่มีใบอนุญาต จำ คุกไม่เกิน2ปี ปรับไม่เกิน2000บาท
บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามี(ญาติ
พ้นจากการประกอบวิชาชีพ ต้องส่ง ใบอนุญาตภายใน15
ไม่มาให้ถ้อยคำ โทษจำคุกไม่ เกิน1เดือน ปรับไม่เกิน1000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ไม่อำนวยตวามสะดวก โทษไม่ เกิน1เดือน ปรับไม่เกิน1000บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม พ.ศ.2540
ให้กรรมการดำรงอยู่จนครบวาระ
ใบอนุญาตมีอายุต่อไปอีก5ปี นับ ตั้งแต่วันที่ที่กฎหมายบังคับใช้
ผู้ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ2 แต่สำเร็จ การศึกษาในประเทศไทย และมีสิทธิ ขึ้นทะเบียนรับใบอนุญาตประกอบ วิชาชีพ
ยกเลิกค่าทำเนียมเก่า ใช้ค่า ธรรมเนียมใหม่
พระราชบัญญัติ พ.ศ.2528 แก้ไข เพิ่มเติมฉบับที่2 พ.ศ.2540
เกณฑ์สากลความเป็นวิชาชีพ
อาชีพมีความจำเป็นต่อสังคม
มีศาสตร์เฉพาะสาขาตน
สามารถให้บริการตามมาตรฐาน ของวิชาชีพ
มีจรรยาบรรณในการประกอบ วิชาชีพ
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
นางสาวณัฐชา เต็มนอง 36/1 เลขที่35 612001036