Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
หน่วยที่ 4 กฏหมายวิชาชีพการพยาบาล, นางสาว อรพิมล ปิ่นปี เลขที่ 60…
หน่วยที่ 4 กฏหมายวิชาชีพการพยาบาล
4.1 ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกัยกฏหมาย
คุณลักษณะของวิชาชีพ
1.เป็นการให้บริการแก่สังคม
2.อาศัยความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์
3.มีระยะเวลาที่ศึกษาและฝึกฝนในวิชาชีพที่ยาวนาน
4.มีองค์กรวิชาชีพเพื่อควบคุมดูแล
5.มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.มีงานวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้
7.มีเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติงานอย่างอิสระ
8.สมาชิกของวิชาชีพเชื่อมโยงกันด้วยความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียว
ความหมายของกฏหมายวิชาชีพ
คือ เครื่องมือที่รัฐบาลใช้ควบคุมคุณภาพและมาตราฐานบริการวิชาชีพ
ความสำคัญของกฏหมายวิชาชีพ
1.ความคุมความประพฤติของบุคคลให้รู้ถึงสิทธิหน้าที่
2.เข้าใจและปฏิบัติตามขอบเขตวิชาชีพ
3.แก้ไขปัญหาและสร้างความเป็นระเบียบในสังคม
4.เพื่อให้บริการโดยยึดมาตรฐานการปฏิบัติงาน
5.เป็นหลักในการพัฒนาวิชาชีพให้มีคุณภาพและเป็นที่ยอมรับ
6.มีความชอบธรรมในการปฏิบัติงานตามกฏหมายรับรอง
วิวัฒนาการของกฏหมาย
คือ การดูแลรักษาและการทำคลอด เกิดตั้งแต่เริ่มมีมนุษย์เกิดขึ้น เพื่อความอยู่รอดปลอดภัยของชีวิต
ลักษณะของกฏหมายวิชาชีพ
1.มาตรฐานในการควบคุมคุณภาพการพยาบาล
ควบคุมคุณภาพการประกอบวิชาชีพ
ควบคุมสถาบันการศึกษา
ควบคุมคุณภาพการประกอบวิชาชีพ
2.มาตรการในการประกันความเสียหายอันเกิดแก่ประชาชน
ควบคุมทางกฏหมาย
ควบคุมทางศีลธรรม
ประเภทของกฏหมายวิชาชีพ
1.กฏหมายปกครอง
กำหนดคุณสมบัติ
การขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาติ
การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพ
กำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
2.กฏหมายอาญา
ขอบเขตของวิชาชีพ
มาตรา 4
วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ คือ วิชาชีพที่เกี่ยวกับการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การพยาบาล คือ การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย
การประกอบวิชาชีพพบาบาล
พยาบาล
1.การสอน การแนะนำ
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจ เพื่อแก้ปัญหาความเจ็บป่วย
3.การทำตามวิธีที่กำหนดในการรักษาโรคและการให้ภูมิคุ้มกัน
4.ช่วยเหลือแพทย์ในการรักษา
การผดุงครรภ์
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ปัญหา
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด
การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.ช่วยเหลือแพทย์ในการรักษา
4.2 สภาการพยาบาลกับบทบาทอำนาจและหน้าที่ตามกฏหมาย
สภาการพยาบาล
เป็นองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฏหมายวิชาชีพและมีอำนาจหน่าที่ทางนิตินัย
วัตถุประสงค์
1.ควบคุมความประพฤติ
2.ส่งเสริมการศึกษา การบริหาร การวิจัย และความก้าวหน้าในวิชาชีพ
3.ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
4.ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่และให้การศึกษาแก่ประชาชน
5.ให้คำปรึกษาและข้อเสนอแนะต่อรัฐบาล
6.เป็นตัวแทนผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
7.ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการแก่สมาชิก
4.3 ระเบียบข้อบังคับของสภาการพยาบาล
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
แบ่งเป็น 2 แหล่ง
1.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง
ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข
ผู้แทนทบวงมหาวิทยาลัย
ผู้แทนกระทรวงกลาโหม
ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย
ผู้แทนจากกรุงเทพมหานคร
ผู้แทนสภากาชาดไทย
2.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง
โดยสามาชิกสามัญของสภาการพยาบาลเป็นผู้เลือก
คุณสมบัติกรรมการสภาการพยาบาล
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย
4.ไม่เคยดำรงตำแหน่งกรรมการสภาติดต่อกัน 2 วาระ
5.ไม่เป็นผู้ที่ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งกรรมการสภาการพยาบาล
การพ้นจากตำแหน่ง
1.ครบวาระ 4 ปี (ซึ่งอาจได้รับการเลือกตั้ง หรือเลือกใหม่ แต่เกิน 2 วาระไม่ได้)
3.ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการ
2.พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
4.ลาออก
การเลือกบุคคลเข้ารับตำแหน่ง ที่ว่างก่อนครบวาระ
1.กรรมการที่มาขากการแต่งตั้ง
2.กรรมการจากการเลือกตั้ง
3.กรณีวาระกรรมการจากการเลือกตั้งเหลือไม่ถึง 90 วันจะไม่ให้เลือกตั้งแทนก็ได้
การดำเนินการกิจการของคณะกรรมการ
1.การประชุมคณะกรรมการจะครบเป็นองค์น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด
2.มติที่ประชุมให้ถือเสยงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงที่ชี้ขาด
3.เรื่องสภานายคพิเศษ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังประชุมและชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ
นางสาว อรพิมล ปิ่นปี เลขที่ 60 612001141