Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
, การพยาบาลมารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะหลังคลอด - Coggle Diagram
การพยาบาลมารดาที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะหลังคลอด
5.1 ความผิดปกติของการไหลเวียนเลือดความดันโลหิตสูงระหว่างตั้งครรภ์ (Pregnancy-induced hypertension)
ความหมาย
urine dipstick ≥ 1+(1,2) แต่ urine dipstick จะใช้เฉพาะกรณีที่ไม่สามารถตรวจด้วย urine protein 24 hr หรือ UPCI ได้
urine protein creatinine index (UPCI) ≥ 0.3
ภาวะโปรตีนรั่วในปัสสาวะ หรือ proteinuria คือ ภาวะที่มี urine protein ≥ 300mg ในปัสสาวะที่เก็บต่อเนื่อง 24 ชั่วโมง
ภาวะที่มี systolic blood pressure (SBP) ≥ 140 mmHg หรือ diastolic blood pressure (DBP) ≥ 90 mmHg
ประเภทของความดันโลหิตสูง
Chronic hypertension with superimposed preeclampsia
Preeclampsia ที่เกิดในหญิงตั้งครรภ์ที่เป็น
Chronic hypertension
Preeclampsia-eclampsia
ภาวะความดันโลหิตสูงที่จำเพาะกับการตั้งครรภ์ (PIH) ร่วมกับมีความผิดปกติของร่ายกายในหลายระบบ
มักเกิดหลังอายุครรภ์ (Gestational age; GA) 20 สัปดาห์ ร่วมกับตรวจพบโปรตีนในปัสสาวะ (Proteinuria)
Gestational hypertension
พบหลังอายุครรภ์ 20
สัปดาห์ แต่ไม่พบ Proteinuria และความดันโลหิตมักกลับสู่ระดับปกติภายใน 12 สัปดาห์หลังคลอด
Chronic hypertension
ตรวจพบความดันโลหิตสูงก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
มีภาวะความดันโลหิตสูงตั้งแต่ก่อนตั้งครรภ์
ลักษณะของเเต่ละประเภท
New-onset Proteinuria
Urine protein 24 hours ≥ 300 mg OR
Urine protein/creatinine ratio/index (UPCI) ≥ 0.3 mg/dL OR
Urine Dipstick or Urine analysis reading ≥ 2+
Severe features
(SBP) ≥ 160 mmHg หรือ (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4 ชั่วโมง
Thrombocytopenia คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
Impaired liver function คือ AST/ALT สูงกว่า 2 เท่าของค่า Upper normal limit
อาการปวดจุกใต้ลิ้นปี่รุนแรงและไม่หายไป (Severe persistence)
Renal insufficiency คือ Serum creatinine ≥ 1.1 หรือมากกว่า 2 เท่าของค่า Serum creatinine
Pulmonary edema
มีอาการปวดศีรษะหรือตาพร่ามัวที่เกิดขึ้นใหม่
New-onset Hypertension
(SBP) ≥ 140 mmHg or (DBP) ≥ 90 mmHg เมื่อวัด 2 ครั้งห่างกัน 4ชั่วโมง
(SBP) ≥ 160 mmHg or (DBP) ≥ 110 mmHg เมื่อวัดห่างกัน 15 นาที
การแบ่งโรคตามแนวทางการรักษา
กลุ่ม Pregnancy-induced hypertension without severe features
2.1 Gestational hypertension (GHT)
New-onset Hypertension ที่เกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับ ไม่มี New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
ความดันโลหิต ต้องไม่สูงเกิน 160/110 mmHg
ตรวจพบ proteinuria หรือ end-organ dysfunction โดยเฉพาะ GHT ที่วินิจฉัยก่อนอายุครรภ์ 32 สัปดาห์
2.2 Preeclampsia without severe features
New-onset Hypertension ที่เกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ ร่วมกับ New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
2.3 Chronic hypertension with superimposed preeclampsia without severe features
Chronic hypertension ร่วมกับ New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
กลุ่ม Pregnancy-induced hypertension with severe features
3.1 Gestational hypertension with severe-range blood pressure
Gestational hypertension ที่มี SBP ≥ 160 mmHg or DBP ≥ 110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันในระยะสั้นๆ (ประมาณ 15 นาที)
ไม่มี Severe features
Gestational hypertension with severe-range blood pressure
3.2 Preeclampsia with severe features
New-onset Hypertension ที่เกิดหลังอายุครรภ์ 20 สัปดาห์
ร่วมกับ New-onset Proteinuria ร่วมกับ Severe features
New-onset Hypertension ร่วมกับ Severe features แม้เพียง 1 ข้อ ไม่มี Newonset Proteinuria ก็ถือเป็น Preeclampsia with severe features
ยกเว้น ข้อ SBP ≥160 mmHg or DBP ≥ 110 mmHg วัด 2 ครั้ง ห่างกันในระยะสั้นๆ (ประมาณ 15 นาที)จะ ต้องมี New-onset Proteinuria ร่วมด้วย
3.3 Chronic hypertension with superimposed preeclampsia with severe features
Chronic hypertension ร่วมกับ New-onset Proteinuria ร่วมกับ Severe features
ไม่มี New-onset Proteinuria ก็ได้
3.4 HELLP syndrome
Hemolysis (H) คือ มีภาวะ Microangiopathic hemolysis (MAHA) หรือ LDH > 600 U/L
Elevated liver enzyme (EL) คือ AST/ALT สูงกว่า 2 เท่าของค่า Upper normal limit
Low platelet (LP) คือ เกล็ดเลือด < 100,000 cell/mm3
3.5 Eclampsia
New-onset tonic-clonic, focal or multifocal seizures in pregnancy (ส่วนใหญ่เกิดขึ้นในไตรมาสสุดท้ายและหลังคลอด 48-72 ชั่วโมง) ที่ไม่ได้เกิดจากสาเหตุอื่น
ไม่จำเป็นต้องมี New-onset Hypertension หรือ New-onset Proteinuria หรือ Severe features ก็ได้
กลุ่มChronic Hypertension (CHT)
Hypertension ที่ตรวจพบก่อนการตั้งครรภ์ (Pregestational hypertension) หรือ
New-onset Hypertension ที่เกิดก่อนอายุครรภ์ 20 สัปดาห์ หรือ
ตรวจพบความดันโลหิตสูงหลังคลอด 12 สัปดาห์
ไม่มี New-onset Proteinuria
ไม่มี Severe features
แนวทางการดูแลChronic Hypertension: CHT
เฝ้าระวังการเกิดภาวะ Superimposed preeclampsia และการเกิด Preeclampsia with severe feature
โดยมีข้อแนะนำให้วัดความดันโลหิตที่บ้านทุกวัน
การพิจารณาเลือก Anti-hypertensive agents จะพิจารณาให้ในรายที่วัดความดันโลหิตที่ รพ.ได้ ≥ 140/90 mmHg
Methyldopa Labetalol
Nifedipine
Hydralazine
พิจารณาให้ Low dose aspirin คือ Aspirin(81) 1x1 oral pc ตั้งแต่ GA 12-36 wks
การฝากครรภ์ครั้งแรก แนะนำให้เจาะเลือดเพื่อประเมิน Baseline CBC with platelet, BUN, Cr, AST, ALT,
uric acid และส่งตรวจปัสสาวะ
กรณี Chronic HT ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกในครรภ์ ไม่แนะนำให้คลอดก่อนอายุครรภ์ 38สัปดาหฺ์
แนวทางการดูแลสตรีตั้งครรภ์ที่เป็น Preeclampsia without severe features หรือ mild gestational
hypertension
กรณีอายุครรภ์ ≥37 สัปดาห์ พิจารณาให้คลอด
กรณีอายุครรภ์น้อยกว่า 37 สัปดาห์ สามารถพิจารณา 'Expectant management' ได้
Strict bed rest พบว่าไม่มีประโยชน์
วัดความดันโลหิต 2 ครั้งต่อสัปดาห์ หาก ≥ 140/90 mmHg ให้รีบมาตรวจก่อนนัด
แนะนำให้มาตรวจหาภาวะ Proteinuria สัปดาห์ละครั้ง
ตรวจ CBC c platelet และ Liver Function Test (LFT) สัปดาห์ละครั้ง
ให้มาตรวจคลื่นความถี่สูงทุก 2-4 สัปดาห์เพื่อดูการเจริญเติบโตของทารกและ และตรวจสุขภาพทารกทุกสัปดาห์
กรณีที่มี fetal growth restriction ควรประเมินสุขภาพทารกในครรภ์โดยใช้ umbilical arteryDoppler velocimetry ร่วมด้วย
หลักในการดูแลสตรีตั้งครรภ์ด้วย Expectant management
Admit ตลอดการตั้งครรภ์ เพื่อเฝ้าระวังการเกิดภาวะแทรกซ้อนของมารดาและทารกอย่างใกล้ชิด
ให้ MgSO4 นาน 48 ชม. หากอาการของสตรีตั้งครรภ์คงที่ ไม่เกิด Severe feature ขึ้นอีก สามารถหยุดMgSO4 ได้
วัดความดันโลหิต และประเมินอาการปวดศีรษะ/ตามัว/จุกลิ้นปี่ ทุก 2-4 ชั่วโมง
บันทึก fluid intake/ urine output อย่างเข้มงวด
ตรวจติดตาม Lab: CBC c platelet, BUN/Cr, Electrolyte, AST/ALT อย่างน้อยสัปดาห์ละสองครั้ง แต่หาก
พบความผิดปกติ ควรตรวจซ้ำทุก 6-12 ชม หากดูแนวโน้มไม่ดีขึ้นภายใน 12 ชม ควรพิจารณาให้คลอด
การติดตามสุขภาพทารกในครรภ์ สอนนับลูกดิ้น (Fetal movement count; FMC) ทุกวัน และทำ Nonstress test (NST) วันละครั้ง หาก NST non-reactive จึงค่อยพิจารณาทำ Biophysical profile (BPP)
แนวทางการดูแลทารกในครรภ์
มีการตรวจ Ultrasonography
เฝ้าระวังภาวะทารกโตช้าในครรภ์ (Intrauterine growth restriction; IUGR)
แนะนำให้ทำ Fetal surveillance ด้วย NST 2 ครั้ง/สัปดาห์ เริ่มตั้งแต่อายุครรภ์ 28-32 สัปดาห์
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในระยะคลอด
การพยาบาลหญิงตั้งครรภ์ที่มีภาวะ Preeclampsia ในระยะคลอด
การพักผ่อน (bed rest) โดยนอนพักบนเตียงให้มากที่สุด และช่วยทำให้ลดความดันโลหิต โดยเฉพาะท่านอนตะแคงซ้าย
จัดสภาพแวดล้อมให้สงบ และลดการกระตุ้นผู้ป่วยทั้งจากแสง เสียง สัมผัส
วัดความดันโลหิต และ Deep tendon reflex ทุก 1-2 ชั่วโมงหรือตามความรุนแรงของอาการ
ประเมิน Headache, visual disturbance, epigastric pain เพื่อประเมินความรุนแรงของโรค
ตรวจ Urine protein เพื่อประเมินการทำงานของไต และเก็บ Urine Protein 24 ชั่วโมง
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate ตามแนวทางการรักษาผู้ป่วยความดันโลหิตสูง
ขณะตั้งครรภ์และใช้เครื่อง Infusion pump ในการให้ Continuous Intravenous Infusion
ดูแลให้ได้รับยาลดความดันโลหิตตามแผนการรักษาได้แก่ Nifedepine, Labetalol, Hydralazine
ใส่สายสวนปัสสาวะคาไว้ กรณีให้ยาแมกนีเซียมซัลเฟตเพื่อประเมินการทำงานของไต
ติดตามระดับแมกนีเซียมในเลือด ให้อยู่ในระดับของการรักษา (therapeutic level)
เตรียมและให้ยาแคลเซียมกลูโคเนททางหลอดเลือดดำ กรณีผู้ป่วยมีอาการแสดงของการเป็นพิษจากยาแมกนีเซียมซัลเฟต
ประเมินและให้ความรู้เกี่ยวกับภาวะของโรค
ประเมินการหดรัดตัวของมดลูก ติดตามความก้าวหน้าของการคลอด และให้ข้อมูลความก้าวหน้าของการคลอดแก่ผู้ป่วย
ประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด (Fetal Heart Rate Monitoring)
ตรวจติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ด้วยเครื่องอิเลคโทรนิก (Electronic fetal monitoring)
บันทึกผลการตรวจติดตาม หากพบว่ามีความผิดปกติของ FHR pattern ให้การช่วยเหลือเบื้องต้น
การพยาบาลผู้ป่วยที่ได้รับยา Magnesium sulfate
ดูแลให้ได้รับยาป้องกันภาวะชักคือ Magnesium sulfate
ใช้เครื่อง Infusion pump ในการให้ Continuous Intravenous Infusion
ดูแลความสุขสบายของผู้ป่วย เช่น เช็ดตัว ประคบด้วยผ้าเย็นหรือกระเป๋านน้้ำแข็งเพื่อบรรเทาอาการร้อนวูบวาบตามร่างกาย
ประเมินอาการ magnesium toxicity เช่น absent Deep tendon reflex, RR < 14 /min
ประเมินผลข้างเคียงของยาอื่นๆที่จะเกิดขึ้นคือ ผิวหนังแดง ร้อนวูบวาบ เหงื่อออก คลื่นไส้ / อาเจียนความดันโลหิตต่่ำ กล้ามเนื้ออ่อนแรง
Monitor intake and output โดยเฉพาะรายที่มี decreased renal function
เตรียม 10% Calcium gluconate กรณีฉุกเฉิน
Monitor magnesium level (Therapeutic serum level 4.8-8.4 mg/dl)
เฝ้าติดตามอัตราการหายใจ และ urine output ทุก 1 ชั่วโมง ประเมิน deep tendon reflex ทุก 2- 4
ชั่วโมง หากมีอาการแสดงของการเป็นพิษจาก Magnesium sulfate ให้พิจารณาหยุดยาแล้วให้ 10%
Calcium gluconate ทันที หลังจากนั้นเจาะเลือดหาระดับ magnesium ในซีรั่ม
Maintain electronic fetal monitoring เพื่อประเมิน fetal status
การพยาบาลผู้ป่วยที่มีภาวะชัก
จัดท่านอนตะแคง และตะแคงหน้า เพื่อป้องกัน aspiration ใส่ oral airway
ให้ออกซิเจนทาง face mask 10 ลิตรต่อนาทีเพื่อป้องกันภาวะ hypoxia
Suction กรณีที่มี secretion
ให้สารน้ำทางหลอดเลือดดำ
ควบคุมอาการชักโดยการให้ยา Magnesium sulfate ทางหลอดเลือดดำ
สังเกตอาการอย่างใกล้ชิด โดยเฉพาะเมื่อเข้าสู่ระยะ postical phase ผู้ป่วยจะไม่รู้สึกตัวเป็นลักษณะsemicoma
ประเมินและเฝ้าระวังสุขภาพทารกในครรภ์อย่างใกล้ชิด (Fetal Heart Rate Monitoring)
ติดตามอัตราการเต้นของหัวใจทารกในครรภ์ด้วยเครื่องอิเลคโทรนิก (Electronic fetal heart rate monitoring)
วัดความดันโลหิตทุก 15 นาที และเฝ้าระวังไม่ให้เกิดภาวะชักซ้ำ
ประเมินอาการและอาการแสดงของภาวะความดันโลหิตสูงเพิ่มขึ้นหรืออาการนำของภาวะชักเช่นHeadache, visual disturbance, epigastric pain เพื่อป้องกันการเกิดภาวะชักซ้้ำ
เจาะเลือดส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการเพื่อการวินิจฉัยและประเมินความรุนแรงของโรค
ในรายไม่รู้สึกตัวให้นอนราบตะแคงหน้าส่วน
ในรายที่รู้สึกตัวให้นอนท่าFowler’s position
ประเมินการการหดรัดตัวของมดลูก
Observe Bleeding จากแผลผ่าตัดหรือจากช่องคลอด
บันทึกสัญญาณชีพ และบันทึก I / O ถ้าพบว่า RR < 14 ครั้งต่อนาที BP ≥ 160 /110 mmHg
Urine Out Put < 30 ml ใน 1 ชั่วโมง รายงานแพทย์เพื่อร่วมดูแลรักษาต่อไป
ให้ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 drip ด้วยเครื่อง Infusion pump
อธิบายถึงผลข้างเคียงที่จะเกิดขึ้นเช่น อาการคลื่นไส้อาเจียนและร้อนวูบวาบตามร่างกาย
เมื่อเกิดอาการข้างเคียงหลังให้ยาให้บันทึกสัญญาณชีพและตวงปัสสาวะทุก 1 ชม
จัดอาหาร Low Salt และ High Protein ในรายที่สามารถรับประทานอาหารได้
ในการให้นมบุตร ในกรณีมารดาหลังคลอดได้รับ IV Fluid ที่ผสม Mg SO4 และ BP < 150 /100- mmHg
สามารถให้ทารกมาดูดนมได้และต้องดูแลอย่างใกล้ชิด
และหากมารดาBP ≥ 160 /110 mmHg
ควรงดดูดนมก่อนจนกว่าความดันโลหิตจะลดลง