Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน :star: โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ - Coggle…
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน :star: โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
Overt Diabetes mellitus
เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
Gestational diabetes mellitus
เบาหวานก่อนตั้งครรภ์
ตรวจพบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
ผลกระทบของโรคเบาหวาน :<3:
:warning: ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
:warning: การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยาก
:warning: diabetic ketoacidosis
ผลต่อมารดา
การติดเชื้อ (Infection)
การคลอดก่อนกำหนด (Preterm birth)
ความดันโลหิตสูงจากการตั้งครรภ์ (PIH)
น้ำคร่ำมากกว่าปกติ (Polyhydramnios)
Diabetic nephropathy
การคลอดยาก (dystocia)
Diabetic retinopathy
การเสียเลือดหลังคลอด (Postpartum hemorrhage)
ผลต่อทารก
ทารกตายในครรภ์หรือตายคลอด (Fetal death or Stillbirth)
ทารกมีขนาดใหญ่กว่าปกติ (Macrosomia)
ความพิการแต่กำเนิด (Malformation)
ทารกในครรภ์เกิดการชะงักงันของการเจริญเติบโต (IUGR)
การแท้ง (Abortion)
ผลต่อทารกแรกคลอด
ภาวะน้ำดีในเลือดสูง (Hyperbilirubinemia)
ภาวะเลือดแดงข้น (Polycythemia)
ภาวะแคลเซี่ยมในเลือดต่ำ (Neonatal hypocalcemia)
ความผิดปกติของหัวใจ (Hypertrophic and congestive cardiomyopathy)
ภาวะน้ำตาลในเลือดต่ำในทารก (Neonatal hypoglycemia)
ภาวะหายใจลำบาก (RDS)
การถ่ายทอดทางพันธุกรรม (Inheritance of diabetes)
การจำแนกชนิดของเบาหวานขณะตั้งครรภ์ :<3:
(Overt DM)
Type I diabetes or Insulin dependent diabetes mellitus (IDDM)
Type II diabetes or Noninsulin dependent diabetes mellitus (NIDDM)
(GDM)
GDM A-1
fasting plasma glucose น้อยกว่า 105 mg/dl
2-hour post prandial glucose น้อยกว่า 120 mg/dl
GDM A-2
fasting plasma glucose มากกว่า 105 mg/dl
2-hour post prandial glucose มากกว่า 120 mg/dl
แนวทางการวินิจฉัยเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์ :<3:
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
ประวัติโรคเบาหวานในครอบครัวชัดเจน
มีประวัติ GDM ในอดีต
มีภาวะอ้วนโดยถือตามดัชนีมวลกายมากกว่าหรือเท่ากับ 27 kg/m2
ตรวจพบน้ำตาลในปัสสาวะ
อายุมากกว่า 35 ปี
ประวัติการคลอดผิดปกติ
การตรวจวินิจฉัยเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์โดยการตรวจ (OGTT)
Glucose 50 g. 1 hr.
Plasma glucose > 140 mg/dl ส่ง OGTT
140 - 199 mg/dl นัด 1 wk. มาตรวจ DM
200 mg/dl = 200
การดูแลรักษา :<3:
การดูแลก่อนการตั้งครรภ์
การเสริมวิตามิน
การประเมินพยาธิสภาพต่างๆของหญิงตั้งครรภ์
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
การควบคุมระดับกลูโคส
การให้คำปรึกษาก่อนการตั้งครรภ์
การออกกำลังกาย
กสรดูแลระยะตั้งครรภ์
การใช้ insulin
ควบคุมน้ำหนัก
งดอาหารน้ำตาล
ความสะอาดของร่างกาย
ควบคุมอาหาร
การสังเกตเด็กดิ้น
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
การดูแลระยะคลอด
การใช้ insulin
IV fluid
การกำหนดเวลาคลอด
การคลอดตามข้อบ่งชี้
การดูแลระยะหลังคลอด
ภาวะแทรกซ้อน
การดูแลทั่วไป
ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด
Breast feeding
การคุมกำเนิด
การดูแลทารก