Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 4.4 และบทที่ 4.5, นางสาวณัฐนรี ธีรวันอุชุกร รุ่น 36/1 รหัสนักศึกษา…
บทที่ 4.4 และบทที่ 4.5
4.5พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
กฎหมายวิชาชีพ
ปฏิบัติตามมาตรฐานที่วิชาชีพกำหนด
รวมทั้งเป็นการสร้างความเชื่อถือ ศรัทธาให้เกิดในกลุ่มผู้รับบริการ
เป็นเกณฑ์สากลข้อหนึ่งของความเป็นวิชาชีพ
โครงสร้างของพระราชบัญญัติวิชาชีพ
สาระสำคัญที่เป็นกฎหมายปกครองซึ่งกำหนดในนิยามว่า
สิทธิหน้าที่และการพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
อำนาจหน้าที่และการดำเนินกิจการและกำหนดการควบคุมการประกอบวิชาชีพ
ใครคือผู้ประกอบวิชาชีพและลักษณะของวิชาชีพและการประกอบวิชาชีพ
ประกอบด้วยพนักงานเจ้าหน้าที่และบทกำหนดโทษตามกฎหมายอาญา
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตนและมีการอบรมในระบบวิชาชีพ
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
นิยามศัพท์ที่สำคัญ
การพยาบาล
เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแล
ช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
รวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การผดุงครรภ์
การตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพและการป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอดและระยะหลังคลอด
รวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การกระทำเกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกัน
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
ความหมาย การปฏิบัติหน้าที่ พยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน
5.อาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาลในการประเมินสภาพ
การวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์
ความหมาย การปฏิบัติหน้าที่การผดุงครรภ์ต่อหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด
ทารกแรกเกิด และครอบครัว
3.การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.อาศัยหลักวิทยาศาสตร์ และศิลปะการผดุงครรภ์ในการประเมินสภาพการพยาบาล วินิจฉัยปัญหา การวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผล
รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9)
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ
จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล
งบประมาณแผ่นดิน
รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย(หมวด2มาตรา11-13)
สมาชิกสามัญ
สมาชิกกิตติมศักดิ์
พนักงานเจ้าหน้าที่
1.ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาต
2.ในการเข้าตรวจค้น พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
ความหมาย ผู้ซึ่งรัฐมนตรีแต่งตั้งให้ ปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
3.ในการตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.) ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลาย
นิติบุคคลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับผิดในฐานะตัวการ
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม
โรคจิต โรคประสาท
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
2.สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตาที่กำหนด
สอบขึ้นทะเบียน
คนมิใช่สัญชาติไทย
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน นับถึงวันสอบสมัครสอบวันสุดท้าย
1.สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
เกณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จการศึกษา
1.สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
ปฏิบัติงานโรงพยาบาลขอรัฐ ครบ 2 ปี สมัครเป็นสมาชิกสามัญและ
ขอขึ้นทะเบียนทันทีไม่ต้องขอสอบ
ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเอกชน ต้องผ่านการฝึกอบรมทางวิชาการตามที่สภาฯกำหนด
2.หลัง 24 ธันวาคม 2540 (สมัครเป็นสมาชิกสามัญและขอสอบขึ้นทะเบียน)
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
เลขาธิการสภา
ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
ควบคุมทรัพย์สินของสภาฯ
เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
สภานายกพิเศษ
แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ออกกฎกระทรวงและกำหนดค่าธรรมเนียมต่างๆ(มาตรา 5)
รักษาการตามพระราชบัญญัติ(มาตรา 5)
ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการในเรื่อง
นายกสภาฯ
เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภา
2.การลงมติ กรรมการ 1 คน มี 1 เสียง
เรื่องทั่วไป ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานชี้ขาด
เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ จะต้องมี 2 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ คือ ไม่ต่ำกว่า 22 เสียง
3.การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
สภานายกพิเศษ เห็นด้วย
การลงมติแย้งสภานายกพิเศษ ต้องทำภายใน30วัน
สภานายกพิเศษ ไม่เห็นชอบ
1.การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย=16คน
เรื่องสำคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะมี 2 กรณี
4.การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
กรรมการที่ปรึกษาจากกรรมการชุดใดพ้นจากตำแหน่งตามวาระกรรมการชุดนั้น
ประเภทของใบอนุญาต
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
1.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ใบอนุญาตหมดอายุ
พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
4.4.การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ
ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมานในเงื่อนไขดังนี้
ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
การกระทำต่อตนเอง
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ (4หมวด 38ข้อ)
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภา
กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา
ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
คณะกรรมการสภาตัดสิน
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวน
นำหลักฐานพร้อมความคิดเห็นส่งให้คณะกรรมการสภาตัดสิน
อนุกรรมการสอบสวนไม่มีหน้าที่ตัดสิน เมื่อรวบรวมข้อมูลพร้อมกับความคิดเห็นแล้วจะส่งให้กรรมการสภาพิจารณาตัดสินต่อไป
มีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล พยานหลักฐานข้อเท็จจริงว่าคดีมีมูลหรือไม่
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
ประเด็นที่ 1
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1 มกราคม 2542
อายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2542
เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541
ประเด็นที่ 2
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 10 มกราคม 2541
อายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 9 มกราคม 2542
เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541
มีกำหนด 1 ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทำผิด
ประเด็นที่ 3
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1 พฤศจิกายน 2543
อายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2543
เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541
มีกำหนด 3 ปี นับตั้งแต่วันเกิดเหตุ
การพิจารณาสอบสวน
การคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการสอบสวน
เมื่อเรื่องขึ้นสู่การพิจารณาคดีของสภาการพยาบาล จะต้องดำเนินคดีไปจนเสร็จสิ้น
ผลการลงมติของคณะกรรมการสภาฯ ในการพิจารณาคดีจะทำเป็นคำสั่งให้นายกสภาลงนามคำสั่งสภาถือเป็นที่สุด คือ อุธรณ์ไม่ได้
ต้องยื่นต่อคณะกรรมการภายใน 7 วันนับตั้งแต่วันทราบคำสั่งของคณะอนุกรรมการสอบสวน
เมื่อผู้ประกอบ วิชาชีพรับทราบคำสั่งลงโทษ
การครบกำหนดนับแต่วันรับทราบคำสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าเป็นการพักใช้ต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที
การเพิกถอนใบอนุญาตต้องส่งคืนใบอนุญาตภายใน 15 วัน ต่อเลขาธิการสภา
กฎหมายให้สิทธิคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการได้
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี ผู้สืบสันดาน
หรือพี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
สภาการพยาบาลมีสิทธิเพิ่มโทษจากพักใช้เป็นเพิกถอนได้โดยอัตโนมัติ
เงื่อนไขเฉพาะ
เมื่อถูกศาลสั่งลงโทษจำคุก เฉพาะโทษจำคุกเท่านั้นที่ทำให้ต้องเพิ่มโทษโดยอัตโนมัติเป็นเพิกถอนใบอนุญาต
ถูกพักใช้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มาตรา43(ภายใต้มาตรา27)
บุคคลที่ได้รับคำสั่งพักใช้
โดยที่ยังไม่ได้ประกอบวิชาชีพฯ ถือเป็นการละเมิด
หากเพียงแค่แสดงด้วยวิธีการใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพ
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี
นับแต่วันที่คณะกรรมการสภาฯมีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งแรก
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
พนักงานเจ้าหน้าที่
ในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมาย
อาญาต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาการพยาบาล
สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ
บทกำหนดโทษ
มาตรา44 จากพักใช้ เป็นเพิกถอน
เกิดขึ้นในกรณีเดียว คือ ระหว่างถูกพักใช้และเพิกถอนไปประกอบวิชาชีพหรือแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพฯ
เฉพาะโทษจำคุกเท่านั้นที่ให้เพิ่มโทษทางวิชาชีพโดยนับแต่วันที่ศาลคำสั่งพิพากษาถึงที่สุด
ซึ่งมีโทษทางอาญาเท่ากับผู้ไม่มีสิทธิประกอบวิชาชีพฯแต่มาประกอบวิชาชีพ
ตามมาตรา 43
กำหนดว่า การแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพฯ
โทษทางอาญา
ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1000 บาท
การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร
ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ
ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน
ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต
จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2540)
เมื่อสภาการพยาบาลตรวจสอบหลักสูตรและผ่านการสอบความรู้แล้วมีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
หรือใบอนุญาตที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชีพฯพ.ศ.2528มีอายุต่อไปอีก 5 ปี นับแต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
เกณฑ์สากลของความเป็นวิชาชีพ
สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ ที่ยาวนานพอสมควร
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในแง่กฎหมาย เพื่อคุ้มครองสมาชิกและผู้รับบริการ
นางสาวณัฐนรี ธีรวันอุชุกร รุ่น 36/1 รหัสนักศึกษา 612001039 เลขที่ 38