Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์, นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077…
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
โรคเริมที่อวัยวะเพศ (Genital herpes simplex infection)
การติดเชื้อ Herpes simplex virus (HSV)
HSV type 1 เกิดเริมที่ปาก (Orolabial herpes infection)
HSV type 2 เกิดโรคเริมที่อวัยวะเพศ และทวารหนัก (anogenital herpes infection)
อาการและ อาการแสดง
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ
อาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
ตาอักเสบ
ตุ่มใสๆ
ไข้
หนาวสั่น
ซึม
ตับ ม้ามโต
การวินิจฉัย
การซักประวัติ ปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นตุ่มน้ำใสแตกจะเป็นแผลอักเสบ มีอาการปวดแสบปวด ร้อนมาก ขอบแผลกดเจ็บและค่อนข้างแข็ง ลักษณะตกขาว
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
-การเพาะเชื้อ (culture)โดยใช้ของเหลวที่ได้จากตุ่มใสที่แตกออกมา หรือการขูดเอา จากก้นแผล จะพบ multinucleated giant cell
-เซลล์วิทยา (cytology) โดยวิธี Tzancksmear ขูดเนื้อเยื่อบริเวณก้นแผล แล้วย้อมสี Wright หรือ Giemsa เพื่อดู multinucleated giant cells
การรักษา
–ควรให้ยาปฏิชีวนะและดูแลแผลให้สะอาดในรายที่ติดเชื้อ แผลไม่สะอาด
-การให้ยา antiviral drug เช่น acyclovir, valacyclovir และ famciclovir
-กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอดทางหน้าท้องเพื่อหลีกเลี่ยง ไม่ให้ทารกได้รับเชื้อจากการสัมผัสสิ่งคัดหลั่งในช่องคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
– ลดความไม่สุขสบายจากการปวดแสบปวดร้อน
– แนะนำการดูแลแผลให้แห้งและสะอาดอยู่เสมอ
– ล้างแผลด้วยน้ำเกลือ 0.9% หรือสารละลาย zinc sulphate 0.25-1% วันละ 2-3 ครั้ง แนะนำเกี่ยวกับการนั่งแช่ก้นด้วยน ้าอุ่น
– ดูแลการให้ยาต้านไวรัสตามแผนการรักษา
– หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ระยะคลอด
เน้นการใช้หลัก Universal precaution และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
และหลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
สามารถให้นมได้ตามปกติ ล้างมือก่อน และหลังสัมผัสทารก
หูดหงอนไก่ (Condyloma accuminata and pregnancy)
หูดหงอนไก่เป็นโรคติดต่อ ทางเพศสัมพันธ์ที่เกิดจากเชื้อ ไวรัส Human papilloma virus(HPV) ชนิดที่ทำให้เกิดหูดหงอนไก่ ที่อวัยวะเพศ ส่วนใหญ่เป็น type 6 และ 11
การวินิจฉัย
– การซักประวัติปัจจัยเสี่ยง ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ อาการและอาการแสดงของการติดเชื้อ
– การตรวจร่างกาย สังเกตเห็นรอยโรค ซึ่งเป็นติ่งเนื้อบริเวณ อวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รอบทวารหนัก ปากช่องคลอด ซึ่ง สามารถช่วยประเมินสภาพได้ค่อนข้างแน่ชัด
– การตรวจทางห้องปฏิบัติการโดยทำ pap smear พบการ เปลี่ยนแปลงที่เซลล์เป็น koilocytosis (halo cell)
อาการและอาการแสดง
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด
คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็น และคัน
การรักษา การพยาบาล
1.ดูแลให้ได้รับการรักษาตามแผนการรักษา เช่น จี้ด้วย trichloroacetic acid หรือ laser surgery
2.แนะนำการรักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ หลีกเลี่ยงการอับชื้นบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์
3.แนะนำส่งเสริมสุขภาพตนเองให้แข็งแรง
4.เน้นการรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
5.การออกกำลังกายที่พอเหมาะ การลดภาวะเครียด และสังเกตการติดเชื้อซ้ำ
การติดเชื้อ HIV ในหญิงตั้งครรภ์(Acquired immunedefiencysyndrome)
การวินิจฉัย
-การซักประวัติ เช่น ร่วมเพศกับผู้ติดเชื้อ ใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน อาการทางคลินิก
-การตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด เป็นต้น
-การตรวจทางห้องปฏิบัติการ ได้แก่
-การตรวจคัดกรองโรคเอดส์คือการทดสอบที่เรียกว่า Enzyme–linked Immunosorbent assay (ELISA) -การตรวจยืนยันด้วยการตรวจ confirmatory test เช่น Western Blot (WB) และ Immunofluorescent assay (IFA)ถ้าให้ผลบวกเป็นการแน่นอนว่าผู้ป่วยติดเชื้อ เอดส์
อาการและ อาการแสดง
-กลุ่มที่ 1 เป็นกลุ่มที่ไม่มีอาการทางคลินิก การตรวจ Elisa ให้ผลบวก
-กลุ่มที่ 2 เป็นกลุ่มอาการคล้ายเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
-กลุ่มที่ 3 เป็นกลุ่มอาการที่มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ ต่ำๆนานกว่า 2-3 เดือนปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลือง โตทั่วไป ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด อาจตรวจพบเยื่อหุ้มสมองอักเสบชนิด ไร้เชื้อร่วมด้วย
การติดต่อ
1.การมีเพศสัมพันธ์ที่เสี่ยงมากที่สุดคือ การร่วมเพศทางทวารหนัก 2.จากมารดาสู่ทารก (vertical transmission)โดยเฉพาะหญิง ต้ังครรภ์ที่ไม่ได้รับการรักษา ทารกในครรภ์จะมีโอกาสติดเชื้อ 1525% 3.ทางกระแสเลือด จากการรับเลือดหรือส่วนประกอบของเลือดที่มี เชื้อเอดส์ การใช้เขม็ฉีดยาร่วมกัน
การรักษา
การให้ยาต้านไวรัสระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
1.ให้เพิ่ม AZT 300 mg ทุก 3 ชม. หรือ AZT 600 mg ครั้งเดียว ไม่ว่าจะใช้ยาสูตรใด
หากคลอดโดยการผ่าตัดให้กินยาก่อนเริ่ม ผ่าตัดอย่างน้อย 4 ชม. 3. ในรายที่ viral load น้อยกว่า 50 copies / ml ไม่ต้องให้ยาระหว่างเจ็บครรภ์คลอด
หลีกเลี่ยงการให้ยา Methergine เนื่องจากจะ ทำให้เกิด severe vasoconstriction ได้
การให้ยาต้านไวรัสหลังคลอด
1.ให้ยาหลังคลอดต่อทุกราย -CD4 < 500 cells / mm 3
-คู่มีผลเลือดลบหรือไม่ทราบผลเลือด
-มีการติดเชื้อร่วม เช่น วัณโรค ไวรัส ตับอักเสบ บี ไวรัสตับอักเสบ ซี 2.การให้ยาต้านไวรัสในทารกแรกเกิด
-AZT ขนาด 4 mg/kg/dose ทุก 12 ชม. ให้นานต่อเนื่อง 4 สัปดาห์
การพยาบาล
ระยะ ตั้งครรภ์
-ตรวจหาระดับCD4 ถ้าต่ำกว่า 400 เซลล์ต่อลูกบาศก์มิลลิเมตร อาจพิจารณาให้ prophylaxis pneumocystis carinii pneumonia (PCP)
-ดูแลให้ยาตามแผนการรักษา (แนวทางการให้ยา) -แนะนำวิธิการปฏิบัติตัวป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
ระยะ คลอด
-จัดให้ผู้คลอดอยู่ในห้องแยกป้องกันการ แพร่กระจายเชื้อ
-หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำแตกหรือรั่วทำ คลอดโดยยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลัง คลอด
1.จัดให้อยู่ในห้องแยก
2.แนะนำการปฏิบัติตัวเมื่อกลับบ้านเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
3.งดให้นมบุตร เพราะทารกอาจติดเชื้อจากแม่ทางน้ำนมได้
4.ทารกหลังคลอด ให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./ กก./วัน และติดตามการติดเชื้อในทารกหลังคลอด 12-18 เดือน
การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
เกิดจากเชื้อไวรัสซิกา (Zika virus) อยู่ในตระกูลฟลาวิไวรัสเช่นเดียวกับไวรัสไข้เลือดออก ไวรัสไข้สมองอักเสบ และไวรัสเวสต์ไนล์ “ยุงลายเป็นพาหะสำคัญของโรค”
การตรวจวินิจฉัย
1.การซักประวัติ อาการ การเดินทาง ลักษณะที่อยู่อาศัย
2.การทดสอบทางห้องปฏิบัติการ
-การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา สำหรับการตรวจหา IgM สามารถตรวจพบได้ภายใน 3 วันนับแต่แสดงอาการ การตรวจหาภูมิคุ้มกัน (IgM) ด้วย วิธี ELISA หรือImmunofluorescenceหากพบว่าผลการตรวจเป็นลบแนะนำให้เก็บ Plasma ส่งตรวจซ้ำภายใน 3-4 สัปดาห์
-วิธิการตรวจดีเอ็นเอสามารถตรวจได้จากน้ำเหลือง
-การตรวจหาพันธุกรรมของเชื้อด้วยวิธี RT-PCR ภายใน 1-3 วันเมื่อเริ่มแสดงอาการ
3.การวbนิจฉัยการติดเชื้อของทารกในครรภ์ สามารถตรวจทางห้องปฏิบัติการ โดยใช้สิ่ง ส่งตรวจ เช่น น้ำคร่ำ เลือดจากสะดือหรือรก
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์
ติดตามอัลตร้าซาวการเจริญเติบโต ของทารกทุก4สัปดาห์
การวัดรอบศีรษะในทารกแรกเกิด 2 ครั้ง ครั้ง แรกเมื่อแรกเกิด และครั้งที่2 เมื่อ อายุ 24 ชั่วโมง
การติดเชื้อไวรัสซิกกา
การตรวจวินิจฉัย
ยังไม่ยารักษาโรคไข้ซิกาโดยตรง
การให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำในปริมาณ 2,000-3,000 ลิตร ต่อวัน
การให้ยาพาราเซตามอลเพื่อบรรเทา อาการปวด ลดไข้
ห้ามรับประทานยาแอสไพรินหรือ ยากลุ่มลดการอักเสบ (NSAIDs)
นางสาวรัตนาภรณ์ ใจอ่อน รหัส 602701077 ชั้นปีที่ 4 รุ่น 35