Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดสมองที่สำคัญ - Coggle Diagram
ภาวะแทรกซ้อนหลังผ่าตัดสมองที่สำคัญ
มีเลือดออกหรือเลือดอุดตันเกิดขึ้นบริเวณศีรษะภายหลังการผ่าตัด
จะพบในผู้ป่วยที่มีเลือดออกปริมาณมากหรือมีความดันในสมองสูงขณะผ่าตัดและหลังผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ปวดศีรษะ
ความดันโลหิตสูง
มีสารคัดหลั่งบริเวณแผลผ่าตัด
การติดเชื้อ
เกณฑ์ในการวินิจฉัยการติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัด แบ่งออกเป็น 3 ประเภท
1.การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นตื้น (superficial incisional SSI)
การติดเชื้อ ที่เกิดขึ้นภายใน 30วันหลังผ่าตัด และมีอาการแสดง
ตรวจพบอาการต่อไปนี้ อย่างน้อย 1ข้อใน4ข้อ
1.มีหนองออกจากรอยผ่าตัดชั้นตื้น
2.ตรวจพบเชื้อได้จากของเหลวหรือเนื้อเยื่อจากรอยผ่าตัดชั้นตื้น โดยการเพาะเชื้อ หรือการตรวจโดยวิธีอื่น
3.ศัลยแพทย์ หรือแพทย์ หรือผู้ที่ได้รับเปิดแผลร่วมกับผู้ป่วย มีอาการหรืออาการแสดงต่อไปนี้ อย่างน้อย 1อย่าง
ปวดหรือกดเจ็บบริเวณแผลผ่าตัด
แผลผ่าตัดบวม
แผลผ่าตัดแดง
แผลผ่าตัดร้อน โดยไม่มีผล การตรวจเพาะเชื้อหรือการตรวจโดยวิธีอื่น
4.เกิดการติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นตื้น
การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นตื้น มี 2 ชนิด
การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นตื้นแบบปฐมภูมิ (superficial incisional primary)
การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นตื้นแบบ ทุติยภูมิ (superficial incisional secondary)
2.การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดชั้นลึก (deep incisional SSI)
การติดเชื้อที่เกิดขึ้นภายใน 30วัน หรือ90วันหลังผ่าตัด
อาการแสดงเฉพาะที่เนื้อเยื่อชั้นพังผืดหรือกล้ามเนื้อบริเวณที่ผ่าตัดร่วมกับมีสิ่งที่ตรวจ พบอย่างน้อย 1 ข้อ
1.มีหนองออกจากรอยผ่าตัดชั้นพังผืดหรือกล้ามเนื้อ
2.แผลผ่าตัดชั้นลึกแยกเอง
ตรวจพบเชื้อได้จากของเหลวหรือเนื้อเยื่อ จากแผลผ่าตัดชั้นพังผืดหรือกล้ามเนื้อ
มีอาการ หรืออาการแสดงต่อไปนี้อย่างน้อย 1ข้อ
มีไข้ อุณหภูมิ 38 องศาเซลเซียส
ปวด
กดเจ็บบริเวณแผลผ่าตัด โดยไม่มีผลการตรวจเพาะเชื้อการตรวจโดยวิธีอื่น
3.พบฝี (abscess)
3.การติดเชื้อที่ตำแหน่งผ่าตัดที่อวัยวะ หรือโพรงของร่างกาย (organ/space SSI)
การติดเชื้อที่เกิดขึ้นภายใน 30วัน หรือ 90วันหลังผ่าตัด
พบสิ่งต่อไปนี้ที่ตรวจอย่างน้อย 1ข้อ
1.มีหนองออกจากท่อระบายที่ใส่ไว้ในอวัยวะหรือโพรงของร่างกายที่ทำผ่าตัด
2.ตรวจพบเชื้อได้จากของเหลวหรือเนื้อเยื่อจากอวัยวะหรือโพรงของร่างกาย
3.พบฝีหรือหลักฐานอื่น ที่แสดงว่ามีการติดเชื้อที่อวัยวะหรือโพรงของร่างกาย
การติดเชื้อที่เกิดขึ้น ส่งผลให้ผู้ป่วยที่ได้รับการผ่าตัดต้องอยู่โรง7พยาบาลนานขึ้น ประมาณ 7-11 วัน และมีความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตสูง 2-11 เท่า เมื่อเทียบกับผู้ป่วยหลังผ่าตัดที่ไม่มีการติดเชื้อ
ภาวะความดันภายในกะโหลกศีรษะสูง
มีแนวโน้มเกิดได้สูงสุดใน 6 ชม แรกหลังผ่าตัด
อาการและอาการแสดง
ผู้ป่วยแต่ละรายจะแตกต่างกันขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการบาดเจ็บต่อสมอง
อาการ
ปวดศีรษะ อาเจียน ซึมลง สับสน
อาการแสดง
ระดับความรู้สึกตัวลดลง
ความดันโลหิตสูง
รูปแบบการหายใจเปลี่ยนแปลงและไม่สม่ำเสมอ (Cushing’s triad)
ขั้วประสาทตาบวม (papilledema)
อัตราการเต้นของหัวใจต่ำกว่า 60 ครั้งต่อนาท
อัมพาตบางส่วนหรือเต็มร่างกาย (partial or full-body paralysis)
เกิดจากเส้นเลือดในสมองฉีกขาด หรือได้รับความเสียหาย ทำให้เลือดและออกซิเจนเดินทางไปเลี้ยงส่วนต่าง ๆ ในสมองไม่ได้
เมื่อเกิดอาการดังกล่าว จะนำไปสู่ภาวะสมองขาดเลือด กระทบต่อสมรรถภาพในการควบคุมสั่งการกล้ามเนื้ออวัยวะส่วนต่าง ๆ ทำให้อวัยวะไม่สามารถขยับเคลื่อนไหวเป็นปกติได้
ภาวะวิกฤตหลังผ่าตัดสมอง จำเป็นจะต้องเฝ้าระวังภาวะแทรกซ้อน 24-48 ชั่วโมงแรกหลังจากการผ่าตัด
ภาวะสมองบวม
อาการและการแสดง
ปวดหัว เวียนหัว
คลื่นไส้ อาเจียน
อาการชา
มีปัญหาในการมองเห็น
พูดผิดปกติ หรือพูดลำบาก
อ่อนแรง
ไม่รู้สึกตัว หมดสติ
ชัก
ขึ้นอยู่กับสาเหตุและความรุนแรง ส่วนใหญ่มักเกิดขึ้นในทันที
สาเหตุ
การบาดเจ็บของสมอง
เมื่อได้รับบาดเจ็บที่ศีรษะอย่างถูกกระแทกหรือพลัดตกจากที่สูง อาจส่งผลให้เกิดความเสียหายต่อสมองและทำให้เนื้อเยื่อในสมองเกิดการบวม รวมทั้งการบาดเจ็บอย่างรุนแรงจนกะโหลกศีรษะแตกก็ทำให้เส้นเลือดในสมองแตกหรือส่งผลให้สมองบวมได้เช่นกัน
โรคหลอดเลือดสมอง
สมองบวมอาจเกิดจากโรคหลอดเลือดสมองได้ โดยเฉพาะโรคหลอดเลือดสมองชนิดขาดเลือด (Ischemic Stroke) ซึ่งมีสาเหตุมาจากการอุดตันของลิ่มเลือดบริเวณสมอง ทำให้เลือดและออกซิเจนไม่สามารถไปเลี้ยงสมองได้อย่างเพียงพอ จนทำให้เซลล์ในสมองตายและส่งผลให้สมองเกิดการบวมในเวลาต่อมา
ระยะเวลาของสมองบวมจะขึ้นกับสาเหตุการเกิดของสมองและความรุนแรงของโรค ในรายที่สมองบวมจากอุบัติเหตุ อาการสมองบวมจะกินเวลาประมาณ 1-2 อาทิตย์