Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์ - Coggle Diagram
การเปลี่ยนแปลงหน้าที่ของระบบสืบพันธุ์
ความผิดปกติในอวัยวะสืบพันธุ์เพศชาย
ส่วนท่อปัสสาวะ Urethritis,Urethra stricture
Urethritis
การอักเสบของท่อปัสสาวะ
สาเหตุ
Ascending infection จากการติดเชื้อแบคทีเรีย
E. coli, Klebsiella
Proteus
Enterobacter
Pseudomonas
การติดเชื้อเรื้อรัง
โรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ
ต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง
พยาธิสรีรวิทยา
ท่อปัสสาวะอักเสบและ การอักเสบนี้จะลุกลามไปจนถึงกระเพาะปัสสาวะ
เชื้อโรคจะเจริญเติบโตได้ในกระเพาะปัสสาวะ
เกิดการอักเสบติดเชื้อตามกลไกการอักเสบของร่างกาย
การถ่ายปัสสาวะตามปกติไม่สามารถขับ เชื้อโรคออกได้
อาการและอาการแสดง
Urgency, frequency, dysuria
กระเพาะปัสสาวะบีบเกร็ง
ปวดแสบปวดร้อนขณะถ่ายปัสสาวะหรือคันในท่อปัสสาวะ
Nocturia
Hematuria, Fever, chill
มีมูกหรือหนองไหลออกจากท่อปัสสาวะ
อาการทั่วไป ได้แก่malaise, nausea, vomiting, low back pain, flank pain
ปวดหน่วงบริเวณอวัยวะเพศหรืออัณฑะ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Urinalysis (U/A) เพื่อตรวจหา หนอง เลือด และแบคทีเรียในปัสสาวะ
Clean–catch midstream urine
Urethra stricture
สาเหตุ
อาจเป็นแต่กําเนิด
จากการได้รับบาดเจ็บที่ท่อทางเดินปัสสาวะและขาดการรักษาที่ดีพอ
การอักเสบติดเชื้ออย่างแรง
การใส่สายสวนปัสสาวะนานจนท่อปัสสาวะเกิดเนื้อตาย
การใส่เครื่องมือทางการแพทย์ที่มีขนาดใหญ่
การเป็นมะเร็งท่อปัสสาวะ
พยาธิสรีรวิทยา
ท่อปัสสาวะตีบมีการคั่งค้างของปัสสาวะ
มีการไหลย้อนกลับของปัสสาวะ ส่งผลเกิดให้ต่อมลูกหมาก อักเสบ
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
ไตเสียหน้าที่
อาการและอาการแสดง
เบ่งถ่ายปัสสาวะ ปัสสาวะลําเล็กลง double stream, spraying
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะไม่สุด ปวดเล็กน้อยเวลาถ่ายปัสสาวะ
อาการเฉียบพลันจะมีการคั่งค้างของปัสสาวะจากการปัสสาวะไม่ออก
การตรวจทางห้องทดลอง
Ultrasound
Voiding cystourethrogram
ส่วนองคชาติ
Phimosis
ภาวะหนังหุ้มปลายองคชาติมีรูเปิดแคบ
Balanitis and Posthitis
รอักเสบของ glans penis and mucous membrane บริเวณรอบ ๆ องคชาติ มักเกิดร่วมกับหนังหุ้มปลายอักเสบ
Penile cancer or Cancer of the penis
มะเร็งองคชาติ พบมากในผู้ชาย อายุ 45- 60 ปีขึ้นไป สาเหตุเกิดจากการหมักหมมของสิ่งสกปรกบริเวณใต้หนังหุ้มปลาย ต่อมา เปลี่ยนแปลงกลายเป็นเซลล์มะเร็ง
Priapism
ภาวะอวัยวะเพศชายไม่อ่อนตัว
Peyronie’ disease
ภาวะที่มี fibrous plaques มาเกาะที่ปลายหนังหุ้ม องคชาต
ส่วนอัณฑะ
Orchitis, Epididymitis
อัณฑะและท่อนําอสุจิอักเสบ
สาเหตุ
เกิดจากการติดเชื้อจากต่อมลูกหมาก กระเพาะปัสสาวะและท่อปัสสาวะย้อนเข้า ไปในท่อนําอสุจิจนถึงอัณฑะ
วัยรุ่นขึ้นไปอาจเกิดจากติดเชื้อกามโรค เช่น Chlamydia trachomatis, N. gonorrhea
ชายสูงอายุสาเหตุมักเกิดจากการติดเชื้อในระบบ ทางเดินปัสสาวะหรือต่อมลูกหมากอักเสบ ในบางรายอัณฑะอักเสบอาจเกิดตามหลังโรคคางทูม
อาการแสดง
ปวดถุงอัณฑะและขาหนีบข้างเดียวตามตําแหน่งของ Vas deferens จะปวด มากขึ้นเวลาเดิน
อาการค่อยเป็นค่อยไป ต่อมาอัณฑะบวม ปวด กดเจ็บมาก มีไข้สูง หนาวสั่น
หากเกิดหลังเป็นคางทูม 3-4 วัน จะมีอาการไข้ ปวดและบวมบริเวณอัณฑะ ไม่พบอาการปัสสาวะเป็นเลือด อาการอาจมีในระยะ 7–10 วัน อาการที่หลงเหลือจากการหายแล้ว อาจมีการฝ่อของอัณฑะ การสร้างอสุจิลดลง ถ้าเป็นที่อัณฑะทั้งสองข้างอาจเป็นหมันได้
Testicular torsion
สาเหตุ
ความผิดปกติของถุงหุ้มลูกอัณฑะและตําแหน่งถุงอัณฑะ
การยึดติดกันของ spermatic fascia และผนังถุงลูกอัณฑะไม่ดีทําให้มีช่องว่าง และท่ออสุจิบิดตัวได้
การออกกําลังกายอย่างหนักทําให้cremaster muscle เกิดแรงดึงรั้งมาจนท่ออสุจิบิดตัว
พยาธิสรีรวิทยา
อัณฑะข้างซ้ายหดตัวในทิศทางทวนเข็มนาฬิกา ส่วนอัณฑะข้างขวาจะหดตัวในทิศทางตามเข็มนาฬิกา
อัณฑะจะหดตัวตาม ขั้วหลอดเลือดทําให้มีเลือดคั่ง บวม และเกิดภาวะขาดเลือดได้
อาการและอาการแสดง
อัณฑะบวม ช้ํา
ไม่มี cremasteric reflex ของอัณฑะข้างที่บาดเจ็บ
ปวดร้าวลงอัณฑะข้างที่บาดเจ็บหรือขาหนีบข้างนั้น
ปวดท้อง คลื่นไส้ อาเจียน
Lightheadedness (วิงเวียนศีรษะ)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Doppler ultrasonography ได้ยินเสียงการไหลเวียนของเลือดไปเลี้ยงอัณฑะ ข้างที่บาดเจ็บลดลง
ส่วนต่อมลูกหมาก
Benign prostate hypertrophy (BPH)
ภาวะต่อมลูกหมากโต โดย
ไม่ใช่มะเร็ง
สาเหตุ
Arteriosclerosis
การอักเสบ
อายุที่เพิ่มมากขึ้นทําให้มีการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
การเผาผลาญและภาวะโภชนาการเปลี่ยนแปลง
พยาธิสรีรวิทยา
สมดุลระหว่างฮอร์โมนเอส โทรเจนและฮอร์โมนแอนโดรเจน
มีระดับฮอร์โมน dihydrotestosterone สูง
ปัสสาวะคั่งค้างเกิดนิ่วในกระเพาะปัสสาวะ และท่อปัสสาวะอักเสบ
มีการติดเชื้อทางเดินปัสสาวะและมีผลต่อการทํางานของไต
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก
ปัสสาวะลําบาก ลําปัสสาวะเล็กลง
รู้สึกว่าถ่ายปัสสาวะไม่หมด ปัสสาวะสะดุด
ระยะอุดกั้น
ปัสสาวะบ่อย ปัสสาวะตอนกลางคืน
ปัสสาวะค้าง ปัสสาวะเป็นหยด กลั้นปัสสาวะไม่อยู่
อาจมีปัสสาวะเป็นเลือด
ทางเดินปัสสาวะอักเสบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Cystoscopy
Blood urea nitrogen (BUN), creatinine สูงจากภาวะไตเสียหน้าที่
Urinalysis พบ hematuria, pyuria, bacteria > 100,000/ µL
Prostatitis
ภาวะต่อมลูกหมากอักเสบเฉียบพลันหรือเรื้อรัง
อาการแสดง
ปวดบริเวณฝีเย็บ ปวดแสบเวลาปัสสาวะบ่อย
ปัสสาวะบ่อย
ปวดขณะหรือภายหลังการหลั่งน้ําอสุจิ
ต่อมลูกหมากอักเสบเฉียบพลัน จะมีอาการไข้ หนาวสั่น ปวดบริเวณฝีเย็บ ทวารหนัก และหลัง ปวดเวลาถ่ายปัสสาวะ ถ่ายปัสสาวะบ่อย และถ่ายปัสสาวะตอนกลางคืน
ต่อมลูกหมากอักเสบเรื้อรัง จะมีอาการปวดเวลาถ่ายปัสสาวะเล็กน้อย ถ้ายปัสสาวะบ่อย และมี Discharge ไหลออกจากท่อปัสสาวะ มักทําให้เกิดภาวะอักเสบติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ภาวะแทรกซ้อน
ต่อมลูกหมากบวมโต ปัสสาวะคั่งค้าง
Epididymitis (ท่อนําอสุจิอักเสบ)
Bacteremia (การอักเสบติดเชื้อในกระแสเลือด)
Pyelonephritis (กรวยไตอักเสบ)
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
ถ้าจะตรวจการอักเสบติดเชื้อของระบบทางเดินปัสสาวะส่วนล่าง จะใช้วิธี 4 glass bottle แต่วิธีนี้จะยุ้งยากจึงมักใช้วิธี 2 glass bottle แทนคือให้ผู้ป่วยทําความสะอาด Glans penis ให้สะอาด ถ่ายปัสสาวะทิ้งก่อนแล้วเก็บ midstream urineโดยให้ผู้ป่วยปัสสาวะประมาณ 10 – 15 มล. เก็บในขวดที่ 1 ซึ่งจะบอกถึงลักษณะของปัสสาวะในท่อปัสสาวะ จากนั้นให้ถ่ายปัสสาวะต่อโดยไม่หยุดใส่ขวดที่ 2 ประมาณ 50 – 70 มล. จะบอกลักษณะปัสสาวะในกระเพาะ ปัสสาวะ
2) ตรวจทางช่องทวารหนักกดที่ต่อมลูกหมากจะปวดมาก และรีดเอาน้ําจากต่อม ลูกหมากมาตรวจจะพบเม็ดเลือดขาวจํานวนมาก และอาจเพาะเชื้อขึ้น
Prostate cancer
มะเร็งต่อมลูกหมาก พบได้บ่อยในผู้ชายอายุ 50 ปี
ขึ้นไป
สาเหตุ ไม่ทราบแน่ชัด
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์ เชื้อชาติ การสัมผัสมลภาวะ เช่น รังสี สารเบนซิน ไฮโดรคาร์บอน
การติดเชื้อโรคทางเพศสัมพันธ์
การรับประทานอาหารที่มีไขมันสูง
พยาธิสรีรวิทยา
เซลล์มะเร็งที่พบส่วนใหญ่เป็นชนิด adenocarcinoma
เริ่มต้นจาก ด้านหลังต่อมลูกหมาก หรือเริ่มต้นบริเวณใกล้ท่อปัสสาวะ
ลุกลามไปยังเปลือกหุ้มต่อมลูกหมาก ท่อนําอสุจิแล้วแพร่กระจายไปตามทางเดินน้ําเหลือง
อาการและอาการแสดง
ระยะแรก ไม่มีอาการแต่อาจคลําพบก้อน ระยะต่อมามีอาการ
ถ่ายปัสสาวะลําบาก ปัสสาวะเป็นหยด ปัสสาวะคั่ง
กระเพาะปัสสาวะอักเสบ
ปัสสาวะเป็นเลือด
อัณฑะหรือขาบวม
คลําพบต่อมลูกหมากโต ขอบไม่เรียบ
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Transrectal prostatic ultrasonography - ตรวจพบต่อมมีขนาดโต ลักษณะผิดปกติ
Bones scan, CT, MRI
Serum prostate - specific antigen (PSA) test – มีค่าสูงกว่าปกติ
Digital rectal examination คลําพบต่อมโต ลักษณะผิดปกติ ควรตรวจเป็น ประจําทุกปีในผู้ชายที่อายุ 70 ปีขึ้นไป (American Cancer Society)
ส่วนเต้านม
Gynecomastia
ภาวะเต้านมโตผิดปกติในเพศชาย
อาการแสดง
เต้านมโตกว่าปกติอาจเป็นข้างเดียวหรือสองข้างก็ได้ อาการอาจเป็นชั่วคราวแล้วยุบไปเองได้ถ้าสิ่งกระตุ้นลดลง ในวัยสูงอายุจะพบก้อนโตใต้ลานนม ถ้า ภาวะนี้ก่อให้เกิดผลกระทบและเกิดปัญหาทางด้านจิตใจรุนแรงแพทย์อาจพิจารณาทําการผ่าตัดเสริม แต่งเต้านม หรือให้ยา
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
Testicular ultrasound
Breast cancer
มะเร็งเต้านมเพศชายพบน้อยมาก มักพบในผู้ชายอายุ ประมาณ 60 ปี มากกว่าอายุเฉลี่ยของผู้หญิงที่เป็นมะเร็งเต้านม 10ปี
ปัจจัยเสี่ยง
กรรมพันธุ์
ความผิดปกติของยีน (presence of the BRCA2 gene)
โรคตับ
การสัมผัสรังสี การสัมผัส ความร้อนนาน ๆ