Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง อิเหนา - Coggle Diagram
บทละครเรื่อง อิเหนา ตอนศึกกะหมังกุหนิง
จุดมุ่งหม่ายในการแต่ง
เพื่อใช้ในการแสดงละครใน
ละครในเป็นละครรำ
ใช้ผู้หญิงแสดงล้วน
ความเป็นมา
มีเค้าเรื่องมาจากชวาที่เรียก "นิทานเป็นหยี"
ซึ่งไทยรับวรรณคดีเรื่องนี้มาตั้งแต่สมัยอยุธยา
ลักษณะคำประพันธ์
แต่มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพ
แต่ละวรรคจะขึ้นต้นด้วยคำว่า "เมื่อนั้น บัดนั้น มาจะกล่าวบทไป"
เป็นกลอนบทละคร
ความสุนทรียของ
งานประพันธ์
ตัวละครที่สำคัญ
ท้าวกุเรปัน
กษัตริย์ผู้ครองกรุงกุเรปันมีน้องชาย 3 องค ์ คือท้าวดาหา , ท้าวกาหลังและท้าวสิงหัดส่าหรี
ทรงหยื่งทระนงในศักดิ์ศรี
ท้าวดาหา
เป็นกษัตริย์ผู้ครองกรุงดาหาอเปป็นบิดาของบุษบา
เป็นผู้มีใจยุติธรรม และมีความเด็ดขาด
อิเหนา
เป็นโอรสของเท้กุเรปัน
เป้นเจ้าชายรูปงานมีเสน่ห์ นิสัยเจ้าชู้
มีความเชี่ยวชายในการใช้กริซ และ กระบี่เป็นอาวุธ
นางบุษบาหนึ่งหรัด
เป็นธิดาของท้าวดาหา
เมื่อตอนประสูติมีเหตุอัศจรรย์คือมีกลิ่นหอมตลบอบอวลไปทั่ววังดนตรีแตรแหน่งเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย
ตำแหน่งเป็นประไหมสุหรีฝ่ายซ้าย
ท้าวกะหมังกุหนิง
ผู้ครองเมืองกะหมังกุหนิง มีน้องชาย 2 คนคือ ระตูปาหยังกับระตูประหมัน และมีโอรสชื่อ วิทยาสะกำตาดวงใจ
ถูกอิเหนาแทงด้วยกริช ถึงแก่ความตาย
วิหยาสะกำ
เป็นโอรสของท้าวกะหมังกุหนิง เป็นหนุ่มรูปงาม มีฝีมือในการใช้ทวนเป็นอาวุธ มีจิตใจิ่ินไหวมากหลงรักบุษบา
ถูกทวนของสังคามาระถึงแก่ความตาย
บทประพันธ์ที่มีคุณค่า
บทประพันธ์ที่มีความสำคัญบทอาขาน "ชมดง"
เน้นการพรรณนาชมนก ทั้งหมด 8 ชนิด และ ชมพันธ์ไม้ 7 ชนิด
1.เบญจวรรณ/วัลย์ชําลี/วัน
2.นํางนวล/ต้นนํางนวล/นวล(ผู้หญิง)
(นก)จํากพรําก/ต้นจําก/จํากลํา
4.นกแขกเต้ํา/ต้นเต่ําร้ําง/ร้ําง(ห่ํางเหิน)
5.นกแก้ว/ต้นแก้ว/แก้วตํา (ผู้หญิงที่รัก)
6.ตระเวนไพร/ตะเวนไพร/กรรมเวร
7.เค้ําโมง/ต้นโมง/โมง(วันเวลํา)
8.คับแค/ต้นแค/คับใจ(อึดอัดใจ)
เป็นบทนิราศ ที่มีการพรรณนาถึงนางอันเป็นที่รัก
วิเคราะห์คุณค่า
งานประพันธ์
คุณค่าด้านเนื้อหา
โครงเรื่อง
1.1.แนวคิดของเรื่อง เป็นเรื่องที่แสดงให้เห็นถึงความรักของพ่อที่มีต่อลูก รักและตามใจลูกทุกอย่าง แม้กระทั่งตัวตายก็ยอม
1.2. ฉาก เรื่องอิเหนาเป็นเรื่องของชวา ซึ่งผู้แ
ต่งได้ดัดแปลงให้สอดคล้องกับขนบธรรมเนียมและ วัฒนธรรมไททยอย่างกลมกลืน เช่นพระราชพิธีการพระเมรุที่เมืองหมันหยา พระราชพิธีรับแขกเมือง พระราชพิธีโสกันต์ เป็นต้น
1.3. ปมขัดแย้ง มีหลายข้อขัดแย้งแต่ละปมปัญหาเป็นเรื่องที่อาจเกิดได้ในชีวิตจริง และสมเหตุสมผล
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
1.1.ลีลาในการแต่งคำประพันธ์
เสาวรจนี หรือชมโฉม เป็นลีลาที่กวีใช้
ถ้อยคำชมความงาม
นารีปราโมทย์ หรือบทโอ้โลม เป็นลีลากวีที่ใช้
ถ้อยคำแสดงความรักใคร่ เกี้ยวพาราสีกัน
พิโรธวาทัง หรือบริภาษ เป็นลีลากวีที่ใช้ถ้อยคำที่แสดงความโกรธขุ่น
สัลลาปังคพิสัย หรือบทคร่ำครวญ เป็นลีลาที่กวี
ใช้ถ้อยคำหรือแสดงความโศกเศร้า
เสียงเสนาะในการแต่งคำประพันธ์
สัมผัสสระ ตัวอย่างเช่น ความกลัวความรักสลักทรวง ให้เป็นห่วงหลังกังวลหน้า แต่เรรวนนึกตรึกตรา พระราชาสะท้อนถอนใจ
สัมผัสอักษร ตัวอย่างเช่น เอนองค์ลงพิงเขนยกรเกยก่ายพักตร์ถวิลหวัง
การเล่นคำพ้องเสียง ตัวอย่างเช่น เบญจวรรณจับวัลย์ชาลี เหมือนวันพี่ไกลสามสุดามา
การเล่นคำพ้องรูป ตัวอย่างเช่น นางนวลจับนางนวลนอน เหมือนพี่แนบนวลสมรจินตะหรา
การเลือกสรรถ้อยคำ
-การใช้คำศัพย์เหมาะกับตัวละคร เช่น พระองคืทรงพิภพดาหาองค์ศรีปัตหราเป็นใหญ่ พระผู้ผ่านไอศูรย์สูงส่ง
-การใช้คำศัพท์ภาษาชวา เช่น ตุนาหงันหมายถึง หมั้นหมาย ระตู หมายถึงเจ้าเมืองเล็กๆ
คุณค่าด้านสังคม
วิธีและวัฒนธรรม
สภาพชีวิตของชาวเมืองเมื่อเกิดศึกสงครามมักจะนำทรัพย์สมบัติของมีค่าไปฝังดิน
วัฒนธรรมการกินหมาก จากการพรรณนาศพของวิหยาสะกำ
การต้อนรับแขกเมือง
การสู่ขอ ลักษณะการสู่ขอในเรื่องอิเหนา สะท้อนสภาพสังคมในยุคนั้น
สะท้อนคุณค่า
1.เรื่องฤกษ์ยาม เช่น โหรทำนายดวงชะตาและดูฤกษ์ยามให้ ท้าวกะหมังกุหนิงและวิหยาสะกำ
2.เรื่องบุญกรรม เช่น ตอนที่ท้าวกะหมังกุหนิงกล่าวว่าจะยกทัพไปรบที่เมืองดาหา สุดแต่บุญกรรม ไม่ฟังคำทัดทานของโหร
3.การแต่งตัวตามวันและวันที่เป็นมงคลแก่ผู้สวมใส่ เช่น ตอนที่กะหรัดตะปาตีแต่งตัวก่อนยกทัพไปทำศึก
4.เรื่องบุพเพสันนิวาสและเทพอุ้มสม เช่น ตอนที่ท้าวกะหมังกุหนิงส่งราชทูตไปสู่ขอนางบุษบาว่าเป็นเพราะบุพเพสันนิวาสและ
เทพอุ้มสม
5.พิธีกรรม เช่น พิธีเบิกโขนทวาร , พิธีฟันไม้ข่มนาม
ค่านิยม ที่ปรากฏในเรื่อง
1.การเลือกคู่ครองของตัวละครและการสมรสในวงศ์เดียวกัน เช่น อิเหนาเป็นคู่ตุนาหงันกับบุษบา
2.การทำศึกชิงนาง ถือว่าไม่ผิดประเพณีเพราะได้ปฏิบัติมาตั้งแต่โบราณ ถ้าหญิงนั้นยังไม่ได้แต่งงาน
3.การมีเมตตาธรรมของกษัตริย์ กษัตริย์เปรียบดังสมมติเทพ
บทนำ
ผู้แต่ง
พ.ศ. 2459 ได้รับการยกย่องจากวรรณคดีสโมสรว่าเป็นยอดของบทละครลำ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (ร.2)
ความรู้เสริม
กษัตริย์ในวงศ์เทวามีมเหสีได้5องค์ต าแหน่งมเหสี
มี 5 ต าแหน่งดังนี้
ลิกู
มะโต
เหมาหราหงี
มะเดหวี
ประไหมสุหรี
ส านวนไทย “ว่าแต่เขาอิเหนาเป็ นเอง”
หมายถึง การต่อว่าผู้อื่นว่าทำในสิ่งผิด แต่ตนเองกลับประพฤติผิดแบบนั้นเสียเอง
ที่มา พฤติกรรมของอิเหนาที่ต่อว่าผู้อื่นที่มาหลงรักนางบุษบา แต่ตนเองกลับหลงรักนางบุษบาเสียเองจนต้องทำอุบายเสียเองจนต้องทำอุบายชิงตัวนาง