Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ทารกแรกเกิดติดเชื้อ (NEONATAL SEPSIS) - Coggle Diagram
ทารกแรกเกิดติดเชื้อ
(NEONATAL SEPSIS)
เป็นกลุ่มอาการทางคลินิกที่เกิดจากการติดเชื้อในกระแสโลหิตของทารกแรกเกิด
เป็นปัญหาที่พบบ่อย
เป็นสาเหตุการตายและความพิการที่สำคัญในประเทศไทย
ภาวะติดเชื้อในระยะแรก ( early sepsis ) เป็นภาวะที่การติดเชื้อนั้นเกิดขึ้นระหว่าง 72 ชั่วโมงหรือสัปดาห์แรกหลังเกิด
4 ทาง
1)เชื้อจากช่องคลอดเข้าไปในถุงนํ้าคร่ำทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อที่สายสะดือและเข้าสู่ร่างกายทางหลอดเลือดของสายสะดือ
2)ทารกหายใจหรือกลืนเอานํ้าคร่ำที่มีเชื้อโรคปนอยู่
3)เชื้อโรคติดอยู่กับผิวหนังหรือเยื่อบุต่างๆ ของทารกขณะผ่านช่องคลอดของมารดา
4) ทารกได้รับเชื้อจากมารดาที่มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตในระยะก่อนคลอดผ่านทางรก
มารดามีการติดเชื้อในนํ้าครํ่า
( CHORIOAMNIONITIS )
มีไข้ ( มากกว่า 38 องศาเซลเซียส ) ร่วมกับมีleukocytosis
มีอาการเจ็บมดลูก ( uterine tenderness )
นํ้าครํ่ามีกลิ่นเหม็น
มารดาหรือทารกมีหัวใจเต้นเร็วผิดปกติ
( fetal heart rate > 160 ครั้ง/นาที )
ถ้านำนํ้าคร่ำไปตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์พบ PMN มากกว่า 3-5 เซลล์/hpf
PROM โดยเฉพาะถ้านานกว่า 18 หรือ 24 ชั่วโมงก่อนทารกเกิด
มีประวัติ perinatal death โดยไม่ทราบสาเหตุหรือทราบว่าเกิดจากการ
ติดเชื้อ
การคลอดนานมากกว่า 20 ชั่วโมง
มีเชื้อ group B streptococcus colonization หรือ E.
coli ใน genital tract
มีการติดเชื้อในทางเดินปัสสาวะ
ได้รับยาประเภท steroids และ tocolytic agents(เช่น magnesium และ indomethacin) จำนวนหลายๆ ครั้งขณะตั้งครรภ์
คลอดโดยการทำหัตถการ
ครรภ์แฝด
ปัจจัยด้านทารก
ใส่สายสวนหลอดเลือดสะดือ
เกิดก่อนกำหนด
มี perinatal asphyxia
การควบคุมอุณหภูมิกาย
อาจจะมีไข้ หรืออุณหภูมิกายต่ำ
อาการไข้เพียงอย่างเดียวอาจเกิดจากภาวะขาดนํ้าศูนย์ควบคุมอุณหภูมิกายที่สมองเสีย เช่นทารกที่มี severe perinatal asphyxia
หรือเกิดจากผลของสิ่งแวดล้อมเช่นห่อตัว ห่มผ้ามากเกินไปทารกอยู่ในเครื่องควบคุมอุณหภูมิกายที่ตั้งค่าของอุณหภูมิสูงเกินไป
อุณหภูมิกายที่ผิดปกติโดยเฉพาะการมีอุณหภูมิกายต่ำในทารกเกิดก่อนกำหนดต้องพิจารณาถึงผลจากสิ่งแวดล้อมเสียก่อน
ถ้าทารกเกิดก่อนกำหนดมีอุณหภูมิกายต่ำตลอดเวลาแม้จะเพิ่มอุณหภูมิของสิ่งแวดล้อมอย่างเหมาะสมแล้วมักจะบ่งชี้ว่าทารกมีการติดเชื้อ
ระบบประสาท
ไม่ตอบสนองต่อการกระตุ้น
ลักษณะดูไม่ปกติ (not looking well)
ซึม
เคลื่อนไหวน้อยลง
ชัก
ระบบทางเดินอาหาร
อาการของ poor feeding ไม่ดูดนม หรือดูดนมน้อยลง
ท้องอืด สำรอกนม
มีอาการตัวเหลืองที่มีตับโต( คลำตับได้มากกว่า 2 เซนติเมตรใต้ชายโครงขวา )
ม้ามโตร่วมด้วย
ซึ่งมักพบในทารกแรกเกิดที่มีการติดเชื้อในกระแสโลหิตอย่างรุนแรง
ภาวะม้ามโตมักพบในกลุ่ม congenital infection มากกว่า
ระบบไหลเวียนโลหิต
ทารกในครรภ์ที่มีอาการหัวใจเต้นเร็วมากกว่า180 ครั้ง/นาทีเป็นอาการเริ่มแรกที่บ่งบอกการติดเชื้อของทารก
ทารกแรกเกิดบางรายอาจมีหัวใจเต้นช้ากว่า
ปกติ ความดันโลหิตต่ำ
ระบบหายใจ
หายใจเร็ว
หายใจหน้าอกบุ๋ม จมูกบาน
มีเสียงร้องครางเวลาหายใจออก (grunting)
หยุดหายใจ ต้องการออกซิเจนมากขึ้น
อาการหายใจลำบากมักสัมพันธ์กับปัญหาของทางเดิน
หายใจ
ระบบโลหิตวิทยา
มีจุดเลือดออกที่ผิวหนัง ( petechiae )
ระบบเมตาบอลิส
จะมีการเปลี่ยนแปลงทางเมตาบอลิสเนื่องจากการ
ควบคุมนํ้าตาลในร่างกายผิดปกติ
อาการเริ่มต้นนํ้าตาลในเลือดต่ำทำให้เลือดเป็นกรดเเละทำให้นํ้าตาลในเลือดสูง
Risk Factor: ระบบการต้านทานเชื้อโรคยังทำหน้าที่ได้ไม่สมบูรณ์
อาการ: ซึม ไม่ดูดนม อาเจียน ท้องอืด ตัวเย็นหรือมีไข้ ซีด เขียว หายใจหอบ หยุดหายใจ
การวินิจฉัย : Sepsis work up โดยทำ cbc
hemoculture u/a u/c
การรักษา : ให้ antibiotic ฆ่าเชื้อ ทั้ง gm. + และ gm. -
การป้องกัน : Good hand washing
การพยาบาล
1) ควบคุมการแพร่เชื้อ : แยกทารกออกจากทารกอื่น
2) ระมัดระวังการช่วยเก็บ specimen สำหรับ septic work up
3) ช่วยในการหายใจให้สะดวก
จัดท่านอน : ส่วนคอตรง
ให้ออกซิเจน
suction
observe การหายใจ , บันทึก
4) รักษาอุณหภูมิร่างกายให้เหมาะสม
วัด body temp.
ห่มผ้า ใช้ไฟ warmer นอนใน incubator
5) ดูแลให้ได้รับสารอาหารอย่างเพียงพอ
6) ให้ยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
7) สังเกตอาการของภาวะแทรกซ้อน
8) ตอบสนองความต้องการทางอารมณ์ของทารก