Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการ พยาบาล(4.4-4.5), นางสาวกมลชนก ทองมาก เลขที่6 รุ่น 36/1…
กฎหมายวิชาชีพการ
พยาบาล(4.4-4.5)
พระราชบัญญัติวิชาชีพพยาบาล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
มีการกระทำดังต่อไปนี้
.
การสอนการแนะนำให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจหญิงมีครรภ์
เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด เเละระยะหลังคลอด
การตรวจ. การทำคลอด การวางเเผนครอบครัว
การช่วยเหลือเเพทย์ทำการรักษาโรค
โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์เเละศิลปะการพยาบาล
ประเมินสภาพ การวางแผน การปฏิบัติการ การประเมินผล
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล
ฐานะของสภาการพยาบาล มาตรา6
เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายเเพ่งเเละพาณิชย์
การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ พรบ ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลาย
พนักงานเจ้าหน้าที่
.
ให้อำนาจเจ้าหน้าที่เข้าตรวจสอบใบ
อนุญาตค้นหลักฐานโดยไม่ต้องขอ
ให้ศาลออกหมายค้น
การตรวจค้นต้องแสดงบัตรพนักงาน ให้บุคคลที่เกี่ยวข้อง
เจ้าหน้าที่มีอำนาจต่อผู้ไม่ให้ความ สะดวกมีความผิด
นิติบุคคลตามกฎหมายเเพ่งเเละพาณิชย์
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป
นิติบุคคลทำความผิด ผู้เเทนนิติบุคคลร่วมรับผิดในฐานะตัวการ
การประกอบวิชาชีพพยาบาล
การปฏิบัติหน้าที่ พยาบาลต่อบุคคล ครอบครัว ชุมชน การกระทำต่อไปนี้
.
การสอนการแนะนำการให้คำปรึกษาเเละเเก้ไขปัญหาสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายจิตใจของบุคคล
จัดสิ่งเเวดล้อม
การบรรเทาอาการเเละการพื้นฟูสภาพ
การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาเบื้องต้น
การช่วยเหลือเเพทย์ทำการรักษาโรค
โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์เเละศิลปะการพยาบาล
ประเมินสภาพ การวางแผน การปฏิบัติการ การประเมินผล
วัตถุประสงค์สภาการพยาบาล(มาตรา7)และ อำนาจหน้าที่สภาการพยาบาล (มาตรา8) รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9)
.
งบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียน บำรุง ค่าธรรมเนียม
การหารายได้ของสภาการพยาบาล
รายได้จากเงินบริจาค
การผดุงครรภ์
.
การดูแลช่วยเหลือหญิงตั้งครรภ์
ทำคลอด
ทารกแรกเกิด
ส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันความผิดปกติ
ระยะตั้งครรภ์ คลอด หลังคลอด
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย
(หมวด2 มาตรา11-13)
.
สมาชิกสามัญ
การพ้นสภาพสมาชิก
.
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา11
สมาชิกกิตติมศักดิ์
.
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิ
จำนวนอายุ
ประกอบอาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
การพยาบาล
.
เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูเเลเเละการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย
การส่งเสริมสุขภาพ
รวมทั้งการช่วยเหลือเเพทย์กระทำการรักษาโรค
โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์เเละศิลปะการพยาบาล
โรคต้องห้ามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
.
โรคจิต โรคประสาท
การติดยาเสพติดให้โทษอย่างรุนแรง ติดสุราเรื้อรัง
โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม
.
โรคคุดทะราด
โรคเอดส์
โรคเท้าช้าง
ความสำคัญของกฏหมายวิชาชีพ
.
อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน
สามารถให้บริการเเก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานตามบรรทัดฐานของวิชาชีพ
มีจรรยาบรรณในการประกอบอาชีพ
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
มีองค์การวิชาชีพ
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยเเละมิใช่สัญชาติไทย
.
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
.
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
คนมิใช่สัญชาติไทย
.
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6เดือน นับถึงวันสอบสมัครสอบวันสุดท้าย
โครงสร้างพระราชบัญญัติวิชาชีพ
เป็นกฎหมายปกครองตามพระราชบัญญัติ
เกณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จการศึกษา
.
สำเร็จก่อนและหลัง 6กันยายน 2558
.
ปฏิบัติงานของรัฐครบ2ปีสมัครเป็นสมาชิกสามัญขอขึ้นทะเบียนไม่ต้องขอสอบ
ปฏิบัติในสถานพยาบาลเอกชน ไม่ต้องผ่านการฝึกอบรมทางวิชาการตามที่สภากำหนด
หลัง24ธันวาคม 2540
สมัครเป็นสมาชิกสามัญและขอสอบขึ้นทะเบียน
กฎหมายวิชาชีพ
.
เป็นเกณฑ์สากลข้อหนึ่งของวิชาชีพ
ซึ่งเป็นการให้ปฏิบัติตามมาตรฐานวิชาชีพ
เป็นการสร้างความน่าเชื่อถือ
ศรัทธาให้เกิดในกลุ่มผู้รับบริการ
ประเภทของใบอนุญาต
.
.
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น1เเละ2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น1เเละ2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและผดุงครรภ์ ชั้น1เเละ2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
.
.
พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ใบอนุญาตหมดอายุ
หน้าที่กรรมการบริหาร
สภาการพยาบาล
.
นายกสภา
.
ดำเนินกิจการ
เป็นผู้แทนสภา
เป็นประทานในการประชุม
เลขาธิการสภา
.
รับผิดชอบงาน
ควบคุมเจ้าหน้าที่สภา
รับผิดชอบการดูแลทะเบียน
ควบคุมทรัพย์สินสภา
สภานายกพิเศษ
.
รักษาการตามพระราชบัญญัติ
แต่งตั้งเจ้าหน้าที่
ออกกฎกระทรวง กำหนดค่าธรรมเนียม
ให้ความเห็นชอบมติกรรมการ
การดำเนินการของคณะกรรมการสภา
การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย16คน
เรื่องสำคัญ ใช้กรรมการเต็มคณะ
การลงมติ
.
เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ
เรื่องทั่วไป เสียงข้างมาก
การพ้นตำแหน่งกรรมการที่ปรึกษา
ความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
.
เห็นชอบ
ไม่แทงคำสั่งภายใน15วันถือเห็นชอบ
ไม่เห็นชอบ
แทงคำสั่งไม่เห็นชอบภายใน15วัน
การเข้าแทนตำแหน่งกรรมการสภา
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
พิจารณาสอบสวน ให้สิทธิคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการ
.
รู้เห็นเหตุการณ์
มีส่วนได้ส่วนเสีย
เหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้กล่าวหา
การสอบสวนต้องยื่น7วันนับตั้งแต่ทราบเหตุ หากทราบภายหลัง7วันสามารถคัดค้านแต่งตั้งได้
เมื่อพิจารณาคดีของสภา การยอมความไม่มีผล การพิจารณาคดีมีสิทธินำเอกสารหลักฐานมาต่อสู้คดี
การลงมติของสภา คำสั่งสภาคืออุทธรณ์ไม่ได้
ผู้ประกอบวิชาชีพรับคำสั่งโทษ ต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที
เมื่อศาลสั่งโทษจำคุก ต้องเพิ่มโทษเป็นเพิกถอนใบอนุญาต
ถูกเพิกถอใช้ใบประกอบวิชาชีพ
ไม่มีสิทธิประกอบวิชาชีพชั่วคราว
การขอทะเบียนใหม่หลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
.
ต้องพ้น2ปี คำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่1 สามารถยื่นขอครั้งที่2 หลังครบ1ปี
มาตรา43
.
บุคคลเพิกถอนต้องหยุดประกอบวิชาชีพ
หากผู้อื่นเข้าใจว่ามีสิทธิประกอบวิชาชีพถือป็นการละเมิด
"
อายุความ กล่าวโทษกำหนด3ปีและมีกำหนด1ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทำ
.
มีกำหนด1ปี นับตั้งเเต่รู้ตัวผู้กระทำผิด
ประเด็นที่1
.
เกิดเหตุวันที่ 1มกกราคม 2541
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่1 มกราคม 2542
ดังนั้นอายุความจะมีอายุถึงวันที่31ธันวาคม 2542
ประเด็นที่2
.
เกิดเหตุวันที่ 1มกกราคม 2541
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่10 มกราคม 2541
ดังนั้นอายุความจะมีอายุถึงวันที่ 9มกกราคม 2542
ประเด็นที่3
.
เกิดเหตุวันที่ 1มกกราคม 2541
รู้ตัวผู้กระทำผิดวันที่ 1พฤศจิกายน 2543
ดังนั้นอายุความจะมีอายุถึงวันที่ 31ธันวาคม 2543
มีกำหนด3ปีตั้งเเต่วันเกิดเหตุ
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
.
ระเวลาต้องพ้น 2ปี นับตั้งเเต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่1สามารถยื่นขอครั้งที่2
ภายหลังครบ1ปี
นับตั้งเเต่คณะกรรมการสภามีคำสั่งปฎิเสธคำขอครั้งแรก
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมเเละอนุกรรมการสอบสวน
.
มีหน้าที่เก็บรวบรวมข้อมูล
เเล้วนำหลักฐานพร้อมความคิดเห็นส่งให้กรรมการสภาตัดสิน
ในทำนองเดียวกันอนุกรรมการสอบสวนไม่มีหน้าที่ตัดสินเมื่อรวบรวม
ข้อมูลพร้อมความคิดเห็นเเล้วส่งให้กรรมการสภาพิจารณาตัดสินต่อไป
พนักงานเจ้าหน้าที่
ในการปฏิบัติหน้าที่ให้เป็นเจ้าพนักงานตามประมวลกฎหมายอาญาต้องเเสดงบัตรประจำตัวเเก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
.
บัตรประจำตัวมีลักษณะตามเเบบที่กำหนด
ซึ่งมีอำนาจเข้าไปในสถาที่เพื่อตรวจสอบใบอนุญาตสามารถยึกเอกสารหลักฐานในการพิจารณาคดี
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
.
สถานที่ผู้ประกอบวิชาชีพปฏิบัติงาน
สถานที่มีเหตุผลสมควร
สถานที่สอบสวน
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
"
.
หมวดที่1หลักทั่วไป
หมวดที่2 การประกอบวิชาชีพพยาบาลเเละการพดุงครรภ์
หมวดที่3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่4ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
.
ผู้เสียหาย กล่าวหาต่อสภาการพยาบาล
กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
สภาส่งเรื่องให้อนุกรรมการจรินธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะ
กรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีข้อมูล
สภาส่งเรื่องให้คณะกรรมการสอบสวนพิจารณา
คณะกรรมการสภาตัดสิน
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
โทษทางอาญา
.
ประกอบวิชาชีพไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน2ปี ปรับไม่เกิน2000บาท
บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามี(ญาติ)
พ้นจากการประกอบวิชาชีพ ต้องส่งใบอนุญาตภายใน15
ไม่มาให้ถ้อยคำ โทษจำคุกไม่เกิน1เดือน ปรับไม่เกิน1000บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ไม่อำนวยตวามสะดวก โทษไม่เกิน1เดือน ปรับไม่เกิน1000บาทหรือทั้งจำทั้งปรับ
ขอยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบ
วิชาชีพเเต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
.
การกระทำต่อตนเอง
ดูแลบุคคลอื่นให้พ้นทุกข์ทรมาน
.
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทน
ไม่ฉีดสารใดๆเข้าร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย
นักศึกษาต้องอยู่ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
"ผู้เชี่ยวชาญที่ได้ใบอนุญาตใน ประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวไม่เกิน1ปี
บทเฉพาะการเพิ่มเติม พรบ 2540
.
ให้กรรมการทุกประเภทตาม พรบ วิชาชีพ 2528 ดำรงอยู่จน ครบวาระ
พรบ วิชาชีพ 2528 มีต่ออายุใบอนุญาต อีก5ปี นับตั้งเเต่กฏหมายบังคับใช้
ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบัน
พยาบาลและผดุงครรภ์
ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้ค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์แทนตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
.
ห้ามผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
มีข้อกำหนดแห่งวิชาชีพ
มีการลงโทษ กรณีละเมิด
นางสาวกมลชนก ทองมาก
เลขที่6 รุ่น 36/1 612001006