Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ภาวะช็อก สัตว์กัดต่อย แผลไหม้ การแพ้อย่างรุนแรง - Coggle Diagram
ภาวะช็อก สัตว์กัดต่อย
แผลไหม้ การแพ้อย่างรุนแรง
แผลไหม้
เม่นทะเลดำ
อาการ
Systemic reaction อาการแพ้ โดยเฉพาะ anaphylaxis
Local reaction เจ็บปวดเหมือนถูกหนามตำ ชา ถ้าหนามหักคาจะปวดมาก
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
Systemic reaction
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนเลือดหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ให้ oxygen
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
ให้ IV ถ้า BP drop หรือ Shock
ให้การรักษาเหมือน Local reaction
Refer ไป รพ. ที่พร้อมรักษา
Local reaction
ให้ยาแก้ปวด
ให้ยาแก้แพ้
ทุบหนามที่หักคาให้แหลก ใช้น้ำส้มสายชู/น้ำมะนาวทาที่แผลสลับการทุบ เพื่อลดอาการชา
ทาด้วยแอมโมเนีย เพื่อช่วยลดอาการปวด
พิษจากแมงกะพรุน
อาการ
systemic reaction เวียนศีรษะ คลื่นไส้ อาเจียน เหงื่อออก น้ำตาไหล ไข้ กล้ามเนื้อกระคุก ชา แน่นหน้าอก
Local reaction บวมแดงเป็นแนวเส้นตามรอยยหนวดที่สัมผัส เจ็บ คัน อาจมีตุ่มพองเกิดทันทีที่สัมผัสหรือหลังสัมผัส 1 - 4 Wks
Fatal reaction
anaphylaxis
cardiopulmonary arrest
การรักษาเบื้องต้น/ส่งต่อ
Fatal reaction,
Systemic reaction
Local heat อุ่นน้ำทะเลที่อุณหภูมิ 39 ํc เทราดแผล (ห้ามใช้น้ำจืด/แอลกอฮอล์)
ใช้แป้งโรยบริเวณแผลเพื่อเอาหนวดออก
ลดการเคลื่อนไหวบริเวณบาดแผล ห้ามถูแผล
ใช้ผักบุ้งทะเลโขลกแล้วทาบนแผล
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
เฝ้าระวังอาการ
systemic reaction
anaphylaxis
Local reaction
ให้ยาแก้แพ้
ให้ออกซิเจน
ให้ IV
Refer ไป รพ. ที่พร้อมรักษา
ดูแลทางเดินหายใจ โดยเฉพาะภาวะหลอดลมตีบ
แบ่งความรุนแรงของบาดแผล
Partial-thickness burns
ระดับที่ 2 ตื้น epidermis และหนังแท้ส่วนบน แผลพุพองเป็นตุ่มน้ำใส ปวด ใช้เวลาหาย 10 - 14 วัน แผลเป็นค่อนข้างดี
ระดับที่ 2 ลึก epidermis ชั้นบนและชั้นลึกของหนังแท้ยังมีบางส่วนเหลืออยู่ แผลสีขาวซีด นิ่ม ใช้เวลา 3 - 4 Wks แผลเป็นมาก
ระดับที่ 1 ชั้น epidermis ผิวหนังสีแดงเหมือนโดนแดดเผา แห้ง ไม่มีบาดแผล
Full-thickness burns
ระดับที่ 3 ผิวหนังทุกชั้นถูกทำลายทั้งหมด แผลสีขาวหรือน้ำตาล พบเส้นเลือดอุดตัน แผลจากการหดรั้งหรือ skin grafting
ขนาดของแผลใช้กฎเลขเก้า
(rules of nine)
ไฟฟ้าช็อต
ความรุนแรง
ตำแหน่งของร่างกายที่สัมผัส
สิ่งแวดล้อม เช่น ร่างกายสัมผัสโลหะ/น้ำ
ชนิด และกำลังของกระแสไฟฟ้า
การรักษา
ฉุกเฉิน
ให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
ให้ IV ถ้า BP drop หรือ shock
ให้ออกซิเจนถ้าหายใจไม่ดี
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ประเมิน concious, ABCs
รักษาได้
ให้ยาลดปวด
พูดคุยปลอบโยนลดความวิตกกังวล
ดูแลบาดแแผล
ติดตาม ประเมินผลการรักษา ติดตามอาการเกี่ยวกับหัวใจ ต้อกระจก และอาการทางระบบประสาท
อาการฉุกเฉิน
มีบาดแผลไหม้ โดนเฉพาะบริเวณทางเข้าและทางออกของกระแสไฟฟ้า
กระดูกหัก หรือข้อเคลื่อน
ระบบไหลเวียนเลือดผิดปกติ หัวใจเต้นผิดปกติ
ไตวายเฉียบพลัน
ไม่รู้สึกตัว concious เปลี่ยนแปลง
Anaphylaxis
ภาวะที่เกิดขึ้นฉับพลันและอันตรายต่อชีวิตเกิดจากภูมิคุ้มกันร่างกายที่มีต่อสิ่งแปลกปลอม ซึ่งเคยเข้าไปกระตุ้นภูมิคุ้มกันมาก่อนแล้ว โดยอาจมีการเฉพาะที่หรือทุกระบบก็ได้
การรักษาเบื้องต้น
ให้ออกซิเจน
ให้ IV Isotonic solution
ให้ adrenaline 1:1000 0.30-0.5 ml IM,IV
ในเด็กให้ 0.01 ml/kg/dose
ตาม standing order
ให้ยาแก้แพ้
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียนโลหิตหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ให้ยาพ่นขยายหลอดลม ถ้ามีหลอดลมตีบ
ประเมินระดับความรู้สึกตัว ABCs
สาเหตุ
แพ้อาหาร สารเคมี สารโปรตีนต่างๆ
แแกแแกกำลังกาย ความเย็น
พิษจากแมลงสัตว์กัดต่อย
การแพ้ยา
อาการ
หายใจไม่อิ่ม
อ่อนเพลีย เป็นลม
ใจสั่น
Concious เปลี่ยน
นำมูก/น้ำตาไหล
ช็อก
ไอ จาม คัดจมูก
หมดสติ
ผื่นคันตามร่างกาย
หน้าแดง ตัวแดง
สัตว์กัดต่อย
คนกัด
อาการ
ฉุกเฉิน
บาดแผลเหวอะหวะบริเวณใบหน้าหรือบริเวณที่มีขนาดกว้าง สกปรกมาก
ไม่สามารถให้การดูแลรักษาเองได้
ให้การดูแลรักษาได้
มีแผลเล็กน้อยและไม่ใช่ตำแหน่งที่ทำให้เสียโฉม
การรักษาเบื้องต้น
ฉุกเฉิน
ประเมินสัญญาณชีพและบาดแผล
ให้ยาป้องกันบาดทะยัก
ตามแนวทางมาตรฐาน
ซักประวัติ
ระยะเวลาที่ถูกกัด
การรักษาที่ได้รับมาก่อน
สุขภาพของผู้กัด
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
ให้การดูแลรักษาได้
ไม่ควรเย็นทันที ยกเว้นบาดแผลบริเวณใบหน้าที่ไม่เหวอะหวะ ช้ำหรือสกปรกมาก อาจเย็บได้เพื่อต้องการความมสวยงาม ลดรอยแผลเป็น
ให้ antibiotic
ล้างบาดแผลด้วย NSS จำนวนมาก ตัดแต่งเนื้อตาย เอาสิ่งสกปรกออก
นัดตรวจติดตามการรักษา
ให้ยาป้องกันบาดทะยัก
พิจารณาส่งต่อกรณีแผลติดเชื้อรุนแรง
งูกัด
ชนิดของงู
งูไม่มีพิษ
งูแม่ตะง่าว งูปล้องฉนวนหลังเหลือง งูเห่ามังหรืองูแส้ม้า งูดอกหมากแดง งูทางมะพร้าว งูเหลือม งูหลาม
งูปากจิ้งจก งูลายสาบ งูลายสอ
งูก้นกบ งูงอด งูปี่แก้ว งูแสงอาทิตย์
งูพิษ
hematotoxin
งูกะปะ งูแมวเซา งูเขียวหางไหม้
myotoxin
งูคออ่อน งูชายธง งูแสมรัง
neurotoxin
งูเห่า งูจงอาง งูสามเหลี่ยม งูทับสมิงคา
อาการ
พิษต่อระบบเลือด
กลอกตาไม่ได้
เคลื่อนไหวแขนขา และร่างกายไม่ได้
ปวดเมื่อยตามแขนขาลำตัว
กล้ามเนื้ออักเสบรุนแรง
ระบบปัสสาวะล้มเหลว
ระบบหายใจล้ามเหลว
งูไม่มีพิษ
อาจมีอาการปวดบวม มีเลือดออกไม่มาก ไม่มีอาการผิดปกติอื่นใดที่ชัดเจน
พิษต่อระบบประสาท
หายใจลำบาก
หมดสติ /ตาย
ขากรรไกรแข็ง อ้าปากไม่ขึ้น
อ่อนเพลีย หมดแรง กระวนกระวาย
มึนงง เวียนศีรษะ
หนังตาตก ลืมตาไม่ขึ้น
พิษต่อระบบกล้ามเนื้อ
มีเลือดออกจากแผล เหงือก ไรฟัน ริมฝีปาก
มีจ้ำเลือด
ปวดบวมมาก
ปัสสาวะเป็นเลือด
กระสับกระส่าย
Pulse เบาเร็ว BP drop
ปวดท้อง เเน่นหน้าอก
หมดสติ
การรักษาเบื้องต้น
งูพิษ
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
ถ้าระบบหายใจและระบบไหลเวียน
โลหิตหยุดทำงานให้ช่วยฟื้นคืนชีพ
ไม่ควรใชยาสมุนไพรใดๆมาพอกที่แผล
ตรวจดูบาดแผลและรอยเขี้ยวพิษ
ไม่ควรใช้ปากดูดที่แผล
งูเห่าพ่นพิษถูกที่ใบหน้าหรือนัยน์ตา ให้ล้างด้วยน้ำสะอาด
พูดคุยคลายความวิตกกังวล
ดูแลบาดแผล ห้ามกรีดหรือใช้ไฟจี้แผล
เคลื่อนไหวร่างกายให้น้อยที่สุด
NPO ถ้าเป็นงูทะเลให้ดื่มน้ำมากๆ เพื่อขับปัสสาวะและพิษงู
งูไม่มีพิษ
ให้ยาป้องกันบาดทะยัก
สังเกตอาการ และนัดตรวจซ้ำ
รักษาตามอาการ
ให้ยาแก้ปวด
ให้ antibiotic
ประคบเย็น
ถ้าไม่ทราบชนิดของงูให้การดูแลเหมือนงูพิษ
ทำความสะอาดแผลด้วยน้ำยาฆ่าเชื้อ
หรือน้ำสะอาดและสบู่
ภาวะช็อก
สาเหตุ
Septic shock
ได้รับสารพิษ
ถูกสัตว์แมลงกัด
ยาบางอย่าง
ได้รับสารเคมี
Hypovolemic shock
ความผิดปกติของเมตาบอลิซึม
ไตวาย
ตับวาย
น้ำตาลในเลือดสูง/ต่ำกว่าปกติ
ความผิดปกติในการทำงานของหัวใจ
ประสาท และต่อมไร้ท่อ
อาการ
อาเจียน
ปัสสาวะออกน้อย
หรือไม่ออกเลย
กระหายน้ำ อ่อนเพลีย
หายใจเร็ว
ซีด เหงื่อออก ตัวเย็น
ช็อกรุนแรงม่านตาไม่ตอบสนองต่อแสง
ชีพจรเบาเร็ว
ระบบไหลเวียนเลือดล้มเหลว
Pulse pressure ≤ 20 mmHg
MAP < 60 mmHg
BP < 90/60 mmHg
กระสับกระส่าย
การรักษาเบื้องต้น
retain Foley's cath
แก้สาเหตุของการช็อก
NPO
ให้ IV
NSS
Lactated Ringer's solution
ให้ออกซิเจนและให้ความอบอุ่นแก่ร่างกาย
ไม่ควรให้สารน้ำที่มีความเข้มข้นน้อยกว่าเลือด
5% D/W
ให้นอนราบยกขาสูง 10 - 20นิ้ว
Refer ไป รพ.ที่พร้อมรักษา
ประเมินความรู้สึกตัว ABCs