Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, จัดทำโดย นางสาวสหทัย ชาวโพงพางเลขที่ 36/2,…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
ประกอบด้วย
1.เป็นการให้บริการแก่สังคม
2.อาศัยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์
3.มีระยะเวลาในการศึกษาและฝึกฝนในสาขาวิชาชีพที่ยาวนานพอสมควร
4.มีองค์กรวิชาชีพเพื่อควบคุมดูแล
5.มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.มีงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้
7.มีเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติงานอย่างอิสระ
8.สมาชิกของวิชาชีพเชื่อมโยงกันด้วยความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียว หรือมีความเป้นเอกลักษณ์
กฎหมายวิชาชีพหมายถึง เครื่องมือที่รัฐบาลใช้
ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการวิชาชีพ
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
1.ควบคุมความประพฤติของบุคคลในวิชาชีพให้รู้ถึงสิทธิ หน้าที่ ไม่กระทำผิดต่อผู้รับบริการ
2.เข้าใจและปฏิบัติตามขอบเขตวิชาชีพ
3.แก้ไขปัญหาและสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม
4.เพื่อให้บริการโดยยึดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
5.เป็นหลักในการพัฒนาวิชาชีพให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม
6.มีความชอบธรรมในการปฏิบัติงานตามที่กฎหมาย
วิวัฒนาการของกฎหมายการดูแลรักษาพยาบาลและการทำคลอดเกิดขึ้นตั้งแต่เริ่มมีมนุษย์เกิดขึ้นในสังคม
ลักษณะของกฎหมายวิชาชีพ
1มาตรฐานในการควบคุมคุณภาพการพยาบาล
2.มาตรการในการประกันความเสียหายอันเกิดแก่ประชาชน
ประเภทของกฎหมายวิชาชีพ
1.กฎหมายปกครอง
1.1กำหนดคุณสมบัติผู้ที่จะเข้ามาเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
1.2การขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
1.3การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพ
1.4กำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
2.กฎหมายอาญา
ขอบเขตของวิชาชีพมาตรา 4หมายความว่าวิชาชีพเกี่ยวกับการพยาบาลและการผดุงครรภ์
การประกอบวิชาชีพพยาบาล
1.การสอนการแนะนำ
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคลากรเพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น
4.ช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
สภาการพยาบาลกับบทบาท อำนาจและหน้าที่ตามกฎหมาย
เป็นองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายวิชาชีพและมีอำนาจหน้าที่ทางนิตินัย
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
1.ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ
2.ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัย และความ
ก้าวหน้าในวิชาชีพ
3.ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
4.ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่
ประชาชนและองค์กรอื่น
5.ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล
6.เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
7.ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
ระเบียบข้อบังคับของสภาการพยาบาล
คณะกรรมการสภาการพยาบาลกิจการของสภาการพยาบาลตามที่กฎหมายกำหนด ประกอบด้วย 2 แหล่ง คือ
1.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง จำนวน 16 คน
2.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง มีจำนวน 16 คน โดยสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลเป็น
ผู้เลือกสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลด้วยกัน
คุณสมบัติของกรรมการ
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ต้องไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย แสดงว่าเป็นที่มีความสามารถในการบริหารจัดการได้พอสมควร
คุณสมบัติกรรมการสภาการพยาบาล
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย
4.ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการสภาการพยาบาลติดต่อกัน 2 วาระ
5.ไม่เป็นผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งกรรมการสภาการพยาบาล
การพ้นจากตำแหน่ง
1.ครบวาระ 4 ปี ซึ่งอาจได้รับแต่งตั้ง หรือเลือกตั้งใหม่ แต่เกิน 2 วาระ ไม่ได้
2.พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
3.ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการ เช่น ศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
4.ลาออก
การเลือกบุคคลเข้ารับตำแหน่งกรรมการสภาการพยาบาลที่ว่างก่อนครบวาระ
1.กรรมการที่มาจากการแต่งตั้ง ให้หน่วยงานนั้นพิจารณาผู้เหมาะสมและเสนอชื่อผู้แทนคน
2.กรรมการจากการเลือกตั้งใหม่เสนอสภากาพยาบาลแต่งตั้งต่อไป
3.กรณีวาระกรรมการจากการเลือกตั้งเหลือไม่ถึง 90 วัน จะไม่ให้เลือกตั้งแทนก็ได้
การดำเนินการกิจการของคณะกรรมการ
1.การประชุมคณะกรรมการ จะครบเป็นองค์น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด อย่างน้อย16 คน หากคณะกรรมการ มี 33 คน ต้องไม่น้อยกว่า 17 คน
2.มติที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด เฉพาะในการลงมติทั่วไป
3.เรื่องสภานายกพิเศษ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ หรือส่งความเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใดๆก็ได้
4.เรื่องความเห็นชอบและการยับยั้งมติกรรมการ
จัดทำโดย
นางสาวสหทัย ชาวโพงพางเลขที่ 36/2
แหล่งอ้างอิงจากสื่อการเรียนการสอนของอาจารย์