Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ เลขที่ 41 (612001042) รุ่น…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
คุณลักษณะของวิชาชีพ
เป็นการให้บริการแก่สังคม
อาศัยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์
มีระยะเวลาในการศึกษาและฝึกฝนในสาขาวิชาชีพที่ยาวนาน
มีองค์กรวิชาชีพเพื่อควบคุมดูแล
มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
มีงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้
มีเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติงาน
สมาชิกของวิชาชีพเชื่อมโยงกันด้วยความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียว
หมายถึง เครื่องมือที่รัฐบาลใช้ ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการวิชาชีพ เพื่อเป็นหลักประกันแก่ประชาชนว่าจะได้รับบริการอย่างมีคุณภาพ
ความสําคัญ
ควบคุมความประพฤติของบุคคลในวิชาชีพให้รู้ถึงสิทธิ หน้าที่
เข้าใจและปฏิบัติตามขอบเขตวิชาชีพ
แก ้ไขปัญหาและสร้างความเป็ นระเบียบ
ยึดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
เป็นหลักในการพัฒนาวิชาชีพให้มีคุณภาพ
มีความชอบธรรมในการปฏิบัติงาน
ลักษณะของกฎหมายวิชาชีพ
มาตรฐานในการควบคุมคุณภาพการพยาบาล
การควบคุมคุณภาพการประกอบวิชาชีพ
การควบคุมสถาบันการศึกษา
การควบคุมคุณภาพของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
มาตรการในการประกันความเสียหายอันเกิดแก่ประชาชน
การควบคุมทางกฎหมาย
การควบคุมทางศีลธรรม
ประเภทของกฎหมาย
กฎหมายปกครอง
1.กำหนดคุณสมบัติผู้ที่จะเข้ามาเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
2.การขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
3.การจัดตัÊงองค์กรวิชาชีพ
4.กำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
กฎหมายอาญา
ขอบเขตของวิชาชีพ
การประกอบวิชาชีพพยาบาล กระทำดังนี้
1.การสอน แนะนํา การให้คําปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทําต่อร่างกายและจิตใจของบุคลากร รวมทั้ง
การจัดสิ่งแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย
3.ทําตามวิธีที่ก ําหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.ช่วยเหลือแพทย์กระทําการรักษาโรค
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ กระทำดังนี้
1.การสอน แนะนํา ให้คําปรึกษา และการแก้ปัญหาเกี่ยว กับสุขภาพอนามัย
2.ทําต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด
3..การตรวจ การทําคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.ช่วยเหลือแพทย์กระทําการรักษาโรค
สภาการพยาบาลกับบทบาท อํานาจและหน้าที่ตามกฎหมาย
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
1.ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ
2.ส่งเสริมความก้าวหน้าในวิชาชีพ
3.ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
4.ช่วยเหลือประชาชนและองค์กรอื่น
5.ให้คําปรึกษาต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล
6.เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
7.ผดุงความเป็นธรรม
เป็นองค์กรที่มีอํานาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมายวิชาชีพ และมีอํานาจหน้าที่ทางนิตินัย ตามที่กฎหมายวิชาชีพ
บัญญัติไว
ระเบียบข้อบังคับของสภาการพยาบาล
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
กิจการของสภาการพยาบาล
1.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง จํานวน 16 คน
2.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง มีจํานวน 16 คน โดยสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลเป็นผู้เลือกสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลด้วยกัน
คุณสมบัติของกรรมการ
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2..เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ต้องไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย
คุณสมบัติกรรมการสภาการพยาบาล
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3..ไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย
4..ไม่เป็นผู้ดํารงตําแหน่งกรรมการสภาการพยาบาลติดต่อกัน 2 วาระ
5..ไม่เป็นผู้ทําหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งกรรมการสภาการพยาบาล
การพ้นจากตําแหน่ง
1.ครบวาระ 4 ปี ซึ่งอาจได้รับแต่งตั้ง หรือเลือกตั้งใหม่ แต่เกิน 2 วาระ ไม่ได้
2..พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
3..ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการ
4.ลาออก
การเลือกบุคคลเข้ารับตําแหน่งกรรมการสภาการพยาบาลที่ว่างก่อนครบวาระ
ให้หน่วยงานนั้นพิจารณาผู้เหมาะสมและเสนอชื่อผู้แทนคน
ใหม่เสนอสภากาพยาบาลแต่งตั้งต่อไป
กรรมการจากการเลือกตั้ง
กรณีวาระกรรมการจากการเลือกตั้งเหลือไม่ถึง 90วัน จะไม่ให้เลือกตั้งแทนก็ได้
การดําเนินการกิจการของคณะกรรมการ
1.การประชุมคณะกรรมการ กึ่งหนึ่งของจํานวนกรรมการทั้งหมด อย่างน้อย16 คน หากคณะกรรมการ มี 33 คน ต้องไม่น้อยกว่า 17 คน
2.มติที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าเท่ากัน ให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด
3.เรื่องสภานายกพิเศษ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุม หรือส่งความเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใดๆก็ได้
4.เรื่องความเห็นชอบและการยับยั้งมติกรรมการ
นางสาวณิชา ถาวรวงษ์ เลขที่ 41 (612001042) รุ่น 36/1