Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, อ้างอิง : สภาการพยาบาล: Thailand Nursing and…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
4.4 การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
จุดประสงค์
การคุ้มครองผู้รับบริการ
การสงวนวิชาชีพ
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพให้บริการอย่างมีมาตรฐาน
มาตรการควบคุม
ห้ามผู้ไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ไม่มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
มีมาตรการลงโทษ
ข้อยกเว้น
การกระทำต่อตนเอง
การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่น
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทน
ไม่ฉีดยาหรือสารเข้าไปในร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย
นักศึกษาในสถาบันที่สภาฯรับรองภายใต้ผู้ที่ประกอบวิชาชีพ
ผู้ประกอบโรคศิลปะ
ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้รับใบอนุญาต
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบอาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิด
ผู้เสียหายกล่าวหาต่อสภาการพยาบาล
กรรมการสภากล่าวโทษต่อสภาการพยาบาล
อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณา
สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา
คณะกรรมการสภาตัดสิน
อำนาจหน้าที่ของอนุกรรมการจริยธรรมและอนุกรรมการสอบสวน
มีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูลพยานหลักฐานว่าคดีมีมูลหรือไม่
หากคดีมีมูลให้อนุกรรมการสอบสวนดำเนินการสอบสวน
อายุความการกล่าวหา กล่างโทษ มีกำหนด 3 ปี นับตั้งแต่วันเกิดเหตุและมีกำหนด 1 ปี นับแต่วันรู้ตัวผู้กระทำผิด
การพิจารณาสอบสวน
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส ผู้สืบสันดาน
พี่น้องร่วมบิดา มารดา
การคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการสอบสวน ต้องยื่นต่อคณะกรรมการภายใน 7 วันนับตั้งแต่วันทราบคำสั่ง
เมื่อเรื่องขึ้นสู่การพิจารณาคดีของสภาการพยาบาลต้องดำเนินคดีจนเสร็จสิ้น
ผลการลงมติของคณะกรรมการสภาฯ อุธรณ์ไม่ได้
มาตรา 43 ภายใต้มาตรา 27 บุคคลที่ได้รับคำสั่งพักใช้ เพิกถอน หากแสดงว่ายังมีสิทธิประกอบวิชาชีพ ถือเป็นการละเมิด
เมื่อรับทราบคำลงโทษต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที
การขอขึ้นทะเบียนใหม่
ต้องพ้น 2 ปี นับแต่มีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 ยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี
พนักงานเจ้าหน้าที่
ตามประมวลกฎหมายอาญาต้องแสดงบัตรประจำตัวแก่บุคคลที่เกี่ยวข้อง
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด
สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ
สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาการพยาบาล
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท
บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ
พ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1000 บาท
ไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับโทษทางวิชาชีพ
บทเฉพาะกาล พระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2540
ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
ผู้ที่ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 แต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปีผ่านการสอบความรู้แล้วมีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาต
.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่
รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์
ปัจจุบัน พ.ศ.2545 เมื่อครบกำนด 5 ปี บทเฉพาะกาลที่กำหนดไว้ มีผลสิ้นสุดลงใบอนุญาตทุกประเภท
พรบ.วิชาชีพ พ.ศ.2528 ที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่2)พ.ศ.2540
เกณฑ์สากล
อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน
สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐาน
มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
4.5พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
นิยามศัพท์ที่สำคัญ
การพยาบาล
การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วย การฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ
การผดุงครรภ์
การดูแลและการช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด การตรวจ การทำคลอด การส่งเสริมสุขภาพ
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคลเพื่อแก้ไขปัญหาความเจ็บป่วย
การรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
อาศัยศิลปะการพยาบาลการประเมินสภาพการวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาเกี่ยวกับสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
อาศัยศิลปะการผดุงครรภ์ในการประเมินสภาพการพยาบาล วินิจฉัยปัญหา การวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผล
พนักงานเจ้าหน้าที่
ให้อำนาจพนักงานเจ้าหน้าที่เข้าไปตรวจสอบใบอนุญาตค้นหรือยึดหลักฐานการกระทำที่ผิดกฎหมายในสถานที่นั้นได้
การเข้าตรวจค้น พนักงานเจ้าหน้าที่ต้องแสดงบัตรประจำตัว
การตรวจค้นให้พนักงานเจ้าหน้าที่มีอำนาจตามประมวลกฎหมายอาญา
พ.ร.บ.สถานพยาบาลที่อนุญาตให้เปิดสถานพยาบาลตรวจรักษาโรคเบื้องต้นจะผ่านการบังคับใช้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลและบุคลากรอื่น อาศัยการปฏิบัติงานภายใต้กฎหมายที่เป็นระเบียบกระทรวงสาธารณสุข
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล มาตรา6
นิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป ยกเว้น การจดทะเบียนสมรส
นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับผิด
การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.)ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลายและเลิกกิจการ
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล (มาตรา7) อำนาจและหน้าที่ของสภาการพยาบาล (มาตรา8) รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9)
งบประมาณแผ่นดิน
ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ
จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล เช่น จัดสวัสดิการให้สมาชิก
รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
ตราสภาการพยาบาล
เป็นรูปวงกลมมีตะเกียงตั้งอยู่บนฐานของดอกบัว
มีคำว่าสภาการพยาบาลเหนือตะเกียงในวงกลม
มีคำว่า พ.ศ.2528 อยู่ที่ฐานของดอกบัว
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ หมวด2มาตรา11-13
มี 2 ประเภท
สมาชิกสามัญ
การพ้นจากสภาพ
ตาย
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 11(1)
มีคุณสมบัติของสมาชิกสามัญ มาตรา 11(1)
สมาชิกกิตติมศักดิ์
คุณสมบัติมาตรา 11(2)
เป็นผู้ทรงคุณวุฒิที่สภาการพยาบาลเห็นสมควร
จำนวนอายุ การเป็นผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
โรคต้องห้าม
โรคจิต โรคประสาท
การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
โรคคุดทะราด โรคเอดส์ กามโรค โรคเท้าช้าง โรคเรื้อนในระยะติดต่อ
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตาที่กำหนด
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
คนมิใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน นับถึงวันสอบสมัครสอบวันสุดท้าย
เกณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จการศึกษา
สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
ปฏิบัติงานโรงพยาบาลขอรัฐ ครบ 2 ปี ขอขึ้นทะเบียนทันทีไม่ต้องขอสอบ
ปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเอกชน ต้องผ่านการฝึกอบรมทางวิชาการตามที่สภาฯกำหนด
หลัง 24 ธันวาคม 2540 (สมัครเป็นสมาชิกสามัญและขอสอบขึ้นทะเบียน)
ใบอนุญาต มี3ประเภท
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ใบอนุญาตหมดอายุ
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการสภาโดยตำแหน่ง
ตัวแทนจากกระทรวงสาธารณสุขมีสัดส่วนมากที่สุด
ถ้านายกสภาฯเลือกเลขาธิการสภาจากสมาชิกสามัญ กรรมการ จะมีจำนวน 33 คน
การเลือกตั้งนายกสภาฯ เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม
กรรมการสภาฯ เลือกคณะผู้บริหารฯ
นายกสภา เลือก เลขาธิการสภา รองเลขาธิการสภา ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก
วาระของกรรมการ 4 ปี
นายกสภาฯถอดถอนเลขาธิการได้
การพ้นจากตำแหน่งก่อนวาระ
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา13 ได้แก่ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 11(1)
ขาดคุณสมบัติตามาตรา 18
เป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
ลาออก
การเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่างลง
กรรมการว่างลง=หนึ่งในสองหรือน้อยกว่าของกรรมการ
กรรมการว่างลง มากกว่าหนึ่งในสอง (16) คือ มากกว่า 8 คน
อายุกรรมการเหลือต่ำกว่า 90 วัน
หน้าที่กรรมการบริหาร
นายกสภาฯ
ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
เลขาธิการสภา
ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
ควบคุมทรัพย์สินของสภาฯ
เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
สภานายกพิเศษ
รักษาการตามพระราชบัญญัติ(มาตรา 5)
แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ออกกฎกระทรวงและกำหนดค่าธรรมเนียมต่างๆ(มาตรา 5)
ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการในเรื่อง
การออกข้อบังคับสภาฯ
การกำหนดงบประมาณของสภาฯ
การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพ
การวินิจฉัยชี้ขาด ขั้นลงโทษผู้ประกอบวิชาชีพ
การดำเนินกิจการ
การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย=16คน (หนึ่งในสอง)
เรื่องสำคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะมี 2 กรณี
ก.การให้สมาชิกพ้นจากสมาชิกภาพ เพราะขาดคุณสมบัติตามมาตรา11(1) ข้อ ค ง จ
ข.การพิจารณาทบทวนการลงมติ
การลงมติ กรรมการ 1 คน มี 1 เสียง
เรื่องทั่วไป ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานชี้ขาด
เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ จะต้องมี 2 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ คือ ไม่ต่ำกว่า 22 เสียง
การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
สภานายกพิเศษ เห็นด้วย
สภานายกพิเศษ ไม่เห็นชอบ
การลงมติแย้งสภานายกพิเศษ ต้องทำภายใน30วัน ใช้กรรมการสภาเต็มคณะลงมติด้วยเสียง 2/3
การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
การเข้าแทนตำแหน่งของกรรมการสภาที่ว่างลงก่อนครบวาระ
อ้างอิง : สภาการพยาบาล: Thailand Nursing and Midwifery Council.[ออนไลน์ ].จากเว็บไซต์ :www.tnmc.or.th.
นางสาวศรัญญา กันธวัง เลขที่ 28 รหัสนักศึกษา 612001108 ห้อง 36/2
มนัส จาดยางโทน(2562).จริยธรรมและกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับการพยาบาลเวชปฏิบัติทั่วไปโรงพยาบาลพุทธชินราชพิษณุโลก
สภาการพยาบาล: Thailand Nursing and Midwifery Council.[ออนไลน์ ].จากเวบ็ ไซต์ :www.tnmc.or.th.
คัทลียา ศิริภัทรากูร. (2562). การควบคุมการประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์: กฎหมายวิชาชีพและจรรยาบรรณพยาบาล.
มณี อาภานันทิกุล. (2559). จริยธรรมในวิชาชีพพยาบาล. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.
เชียงใหม่:โครงการตำรา คณะพยาบาลศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
แสวง บุญเฉลิมวิภาส. (2558). กฎหมายและข้อควรระวังของผู้ประกอบวิชาชีพแพทย พยาบาล.(พิมพ์ครั้งที่ 7). กรุงเทพฯ: วิญญูชน.
Griffith, R., & Tengnah, C. (2020). Law and professional issues in nursing. Learning Matters.
Atkins, K., De Lacey, S., Ripperger, B., & Ripperger, R. (2020). Ethics and law for Australian nurses. Cambridge University Press.
Nieuwboer, M. S., van der Sande, R., Maassen, I., Rikkert, M. G. O., & Perry, M. Communication between community nurses and general practitioners lacks structure:
an explorative mixed methods study of audio-taped telephone calls in daily practice. Minke Nieuwboer, 125.