Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, นางสาวดลยา แก้วเกร็ด 36/2 เลขที่11 - Coggle…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
4.4การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
2.ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
3.มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ ระบุสาระของการดำเนินการ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
1.การกระทำต่อตนเอง
2.การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมานในเงื่อนไขดังนี้
2.3ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
2.1ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
2.2ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
3.นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
5.ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
4.สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน เมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสิน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต (ไม่ใช่วันที่รับทราบคำสั่ง)
ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับแต่วันที่คณะกรรมการสภาฯมีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งแรก
โทษทางอาญา
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท
2.บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ(พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ได้จากการตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ)
3.ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไม่เกิน 1000 บาท (มีเฉพาะโทษปรับอย่างเดียว)
4.การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับโทษทางวิชาชีพ ป
4.5พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ (ทั้งการศึกษาและการฝึกงาน)ที่ยาวนานพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล การจัดสภาพแวดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหาความเจ็บป่วย
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.การพยาบาลในการประเมินสภาพ การวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันความผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
3.การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.การประเมินสภาพ การพยาบาล วินิจฉัยปัญหา การวางแผนการปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผล
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
1.เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2.การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.) ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลายและไม่สามารถเลิกกิจการเหมือนเช่นนิติบุคคลทั่วไป
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล(มาตรา7) อำนาจและหน้าที่ของสภาการพยาบาล(มาตรา8)
รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9
)
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ
3.จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล โดยใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล เช่น จัดสวัสดิการให้สมาชิก
4.รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
1.โรคจิต โรคประสาท
2.การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
3.โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม หรือเป็นอุปสรรคต่อการประกอบวิชาชีพ
สรุปประเด็นสำคัญ เรื่อง คณะกรรมการสภาการพยาบาล
1.นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการสภาโดยตำแหน่ง
3.ถ้านายกสภาฯเลือกเลขาธิการสภาจากสมาชิกสามัญ กรรมการ
4.การเลือกตั้งนายกสภาฯ เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม
2.ตัวแทนจากกระทรวงสาธารณสุขมีสัดส่วนมากที่สุด กรรมการสภา
5.กรรมการสภาฯ เลือกคณะผู้บริหารฯ ได้แก่ นายกสภา อุปนายกสภา คนที่1และ คนที่ 2
7.วาระของกรรมการ 4 ปี ตามวาระที่มาของกรรมการว่าแต่งตั้ง หรือเลือกตั้งแต่เลขาธิการสภาฯ
6.นายกสภา เลือก เลขาธิการสภา รองเลขาธิการสภา ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก
8.นายกสภาฯถอดถอนเลขาธิการได้
การดำเนินกิจการของคณะกรรมการสภาฯ
1.การประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาลจำนวนองค์ประชุม
1.1เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย=16คน (หนึ่งในสอง)
1.2เรื่องสำคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะมี 2 กรณี
2.การลงมติ กรรมการ 1 คน มี 1 เสียง
2.1เรื่องทั่วไป ถือเสียงข้างมาก ถ้าเสียงเท่ากันให้ประธานชี้ขาด
2.2เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ จะต้องมี 2 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้ง
คณะ คือ ไม่ต่ำกว่า 22 เสียง
3.การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
3.1สภานายกพิเศษ เห็นด้วย
-อาจมีคำสั่ง เห็นชอบ หรือไม่แทงคำสั่งใดๆใน15วัน ถือว่าเห็นชอบ
3.2สภานายกพิเศษ ไม่เห็นชอบ-แทงคำสั่งไม่เห็นชอบ ต้องภายใน15วัน
3.3การลงมติแย้งสภานายกพิเศษ ต้องทำภายใน30วัน ใช้กรรมการสภาเต็มคณะลงมติด้วยเสียง 2/3
4.การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
-กรรมการที่ปรึกษาจากกรรมการชุดใดพ้นจากตำแหน่งตามวาระกรรมการชุดนั้น
นางสาวดลยา แก้วเกร็ด 36/2 เลขที่11