Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ระบาดวิทยาและการควบคุมป้องกันโรค - Coggle Diagram
ระบาดวิทยาและการควบคุมป้องกันโรค
ประเภทของการเฝ้าระวังทางระบาดวิทยา
การเฝ้าระวังเชิงรุก : เป็นการค้นหาเชิงรุกเพื่อเพิ่มโอกาสในการรับข้อมูล การเกิดโรคมากขึนเช่นรายงานผู้ป่วยพบเชื้อ Vibrio cholerae ในระยะทีมีการระบาดของอหิวาตกโรค
การเฝ้าระวังเฉพาะกลุ่มพื้นที่ : การเฝ้าระวังกลุ่มตัวอย่างทีเป็นตัวแทนของกลุ่มประชากรทีได้รับผลกระทบจากปัญหาที่สนใจเช่น HIV serosuveillance
การเฝ้าระวังเชิงรับ : การรายงานเปนปกติ ประจําตามระยะเวลาทีกําหนดเช่นระบบเฝ้าระวัง 506
การเฝ้าระวังพิเศษอืนๆ : ดําเนินการเฝ้าระวังภาวะหรือสถานการณ์พิเศษเช่นการเฝ้าระวังสาเหตุการตายในวิกฤตอุทกภัยปี 2554
ระบาดวิทยากับงานสาธารณสุข
2 การสอบสวนโรค/ภัยสุขภาพ
3 การป้องกันและควบคุมโรค
การควบคุมโรค หมายถึง การลดอัตราการเกิดโรคให้ต่ำลงในระดับที่ไม่เป็นปัญหา หรือ ควบคุมไม่ให้เกิดการแพร่กระจายของโรค ซึ่งจะเป็นผลทำให้เกิดปัญหาทางสุขภาพที่รุนแรงขึ้นในชุมชน
การป้องกัน หมายถึง การป้องกันไม่ให้เกิดโรคขึ้นกับบุคคลหรือชุมชน โดยการส่งเสริมสุขภาพ
การติดตามสังเกต พินิจพิจารณา ลักษณะการ เปลี่่ยนแปลงของการเกิด การกระจายของโรค และเหตุการณ์หรือ ปัญหาสาธารณสุข รวมทั้งปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลงนั้นๆ อย่าง ต่อเนื่อง ด้วยกระบวนการที่เป็นระบบและมีขั้นตอน
1 การเฝาระวังทางระบาดวิทยา
ประโยชน์ของระบบเฝ้าระวัง
ตรวจจับการระบาดของโรค
ติดตามสถานการณ์โรค
พยากรณ์การเกิดโรค
อธิบายธรรมชาติและการกระจายของโรค
ประเมินมาตรการควบคุมป้องกันโรค
การสอบสวนทางระบาดวิทยา
1 การสอบสวนผู้ป่วยเฉพาะราย
2 การสอบสวนการระบาด
การป้องกันและควบคุมโรคโดยยึดหลักธรรมชาติของการเกิดโรค
1 การป้องกันขั้นก่อนปฐมภูมิ
ก่อนถูกพบว่าจะติดโลกเช่นออกกฎหมายเกียวกับสุรา บุหรี่
2 การป้องกันขั้นปฐมภูมิ
ป้องกันในระยะทีโลกยังไม่ได้เกิดขึ้นในร่างกายคนโดยการส่งเสริมสุขภาพ ด้านโภชนาการ ด้านสิงแวดล้อม ด้านพฤติกรรม
3 การป้องกันขั้นทุติยภูมิ
การป้องกันเมือเกิดโรคแล้วโดยการ ค้นหาผู้ปวยในระยะทีไม่มีอาการ การวินิจฉัยได้อย่างรวดเร็ว
4 การป้องกันขั้นตติยภูมิ
การป้องกันในระยะที่โลกดําเนินการมากหรือมีความพิการเพื่อลดภาวะแทรกซ้อนลดความพิการและ ผลเสียทีจะตามมา