Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล, นางสาววิยะดา ลินลา 36/2 เลขที่ 27 - Coggle Diagram
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกฎหมาย
คุณลักษณะของวิชาชีพ
1.เป็นการให้บริการแก่สังคม
2.อาศัยองค์ความรู้ทางวิทยาศาสตร์เกี่ยวกับมนุษย์
3.มีระยะเวลาในการศึกษาและฝึกฝนในสาขาวิชาชีพที่ยาวนานพอสมควร
4.มีองค์กรวิชาชีพเพื่อควบคุมดูแล
5.มีจรรยาบรรณวิชาชีพ
6.มีงานวิจัยเพื่อพัฒนาองค์ความรู้
7.มีเอกสิทธิ์ในการปฏิบัติงานอย่างอิสระ
8.สมาชิกของวิชาชีพเชื่อมโยงกันด้วยความรู้สึกเป็นหนึ่งเดียว หรือมีความเป็นเอกลักษณ์
กฎหมายวิชาชีพ
หมายถึง
เครื่องมือที่รัฐบาลใช้ควบคุมคุณภาพและมาตรฐานบริการวิชาชีพเพื่อเป็นหลักประกันแก่ประชาชนว่าจะได้รับบริการอย่างมุณภาพได้มาตรฐาน
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
1.ควบคุมความประพฤติของบุคคลในวิชาชีพให้รู้ถึงสิทธิ หน้าที่ ไม่กระทำผิดต่อผู้รับบริการ
2.เข้าใจและปฏิบัติตามขอบเขตวิชาชีพ
3.แก้ไขปัญหาและสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยในสังคม
4.เพื่อให้บริการโดยยึดมาตรฐานในการปฏิบัติงาน
5.เป็นหลักในการพัฒนาวิชาชีพให้มีคุณภาพเป็นที่ยอมรับของสังคม
6.มีความชอบธรรมในการปฏิบัติงานตามที่กฎหมายรับรอง
ลักษณะของกฎหมายวิชาชีพ
มาตรฐานในการควบคุมคุณภาพการพยาบาล
การควบคุมคุณภาพการประกอบวิชาชีพ
การควบคุมสถาบันการศึกษา
การควบคุมคุณภาพของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
มาตรการในการประกันความเสียหายอันเกิดแก่ประชาชน
การควบคุมทางศีลธรรม
การควบคุมทางกฎหมาย
ประเภทของกฎหมายวิชาชีพ
กฎหมายปกครอง
กำหนดคุณสมบัติผู้ที่จะเข้ามาเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
การขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
การจัดตั้งองค์กรวิชาชีพ
กำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
กฎหมายอาญา
ขอบเขตของวิชาชีพ
มาตรา 4 ในพระราชบัญญัตินี้ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หมายความว่า วิชาชีพเกี่ยวกับ
การพยาบาล
หมายถึง
การกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแล และการช่วยเหลือเมื่อเจ็บป่วยการฟื้นฟูสภาพ การป้องกันโรค และการส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์ กระทำการรักษาโรค โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาล
การประกอบวิชาชีพพยาบาล
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัยปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคลากร รวมทั้งการจัดมิ่งแวดล้อม เพื่อการแก้ปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค และการฟื้นฟูสภาพ
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้น และการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.ช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การผดุงครรภ์
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษา และการแก้ปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด
3.การตรวจ การทำคลอด และการวางแผนครอบครัว
4.ช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
สภาการพยาบาลกับบทบาท อำนาจและหน้าที่ตามกฎหมาย
สภาการพยาบาล
เป็นองค์กรที่มีอำนาจหน้าที่บังคับใช้กฎหมาวิชาชีพ
และมีอำนาจหน้าที่ทางนิตินัย ตามที่กฎหมายวิชาชีพบัญญัติไว้
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
1.ควบคุมความประพฤติของผู้ประกอบวิชาชีพ
2.ส่งเสริมการศึกษา การบริการ การวิจัย และความก้าวหน้าในวิชาชีพ
3.ส่งเสริมความสามัคคีและผดุงเกียรติของสมาชิก
4.ช่วยเหลือ แนะนำ เผยแพร่ และให้การศึกษาแก่ประชาชนและองค์กรอื่น
5.ให้คำปรึกษาหรือข้อเสนอแนะต่อรัฐบาลเกี่ยวกับปัญหาการพยาบาล
6.เป็นตัวแทนของผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล
7.ผดุงความเป็นธรรมและส่งเสริมสวัสดิการให้แก่สมาชิก
ระเบียบข้อบังคับของสภาการพยาบาล
คณะกรรมการสภาการพยาบาล
ประกอบด้วย 2 แหล่ง
1.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง จำนวน 16 คน
ผู้แทนกระทรวงสาธารณสุข จำนวน 5 คน
ผู้แทนทบวงมหาวิทยาลัย จำนวน 4 คน
ผู้แทนกระทรวงกลาโหม จำนวน 3 คน
ผู้แทนกระทรวงมหาดไทย จำนวน 1 คน
ผู้แทนจากกรุงเทพมหานคร จำนวน 1 คน
ผู้แทนสภากาชาดไทย จำนวน 1 คน
นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย จำนวน 1 คน
2.กรรมการที่มาจากการเลือกตั้ง มีจำนวน 16 คน
โดยสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลเป็นผู้เลือกสมาชิกสามัญของสภาการพยาบาลด้วยกัน
คุณสมบัติของกรรมการ
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล และการผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.เป็นผู้มีความประพฤติดี ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาต หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ต้องไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย แสดงว่าเป็นที่มีความสามารถในการบริหารจัดการได้พอสมควร
คุณสมบัติกรรมการสภาการพยาบาล
1.เป็นผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
2.ไม่เคยถูกสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต
3.ไม่เคยถูกศาลสั่งให้เป็นบุคคลล้มละลาย
4.ไม่เป็นผู้ดำรงตำแหน่งกรรมการสภาการพยาบาลติดต่อกัน 2 วาระ
5.ไม่เป็นผู้ทำหน้าที่เกี่ยวกับการเลือกตั้งกรรมการสภาการพยาบาล
การพ้นจากตำแหน่ง
1.ครบวาระ 4 ปี ซึ่งอาจได้รับแต่งตั้ง หรือเลือกตั้งใหม่ แต่เกิน 2 วาระ ไม่ได้
2.พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
3.ขาดคุณสมบัติการเป็นกรรมการ เช่น ศาลสั่งเป็นบุคคลล้มละลาย
4.ลาออก
การเลือกบุคคลเข้ารับตำแหน่งกรรมการสภาการพยาบาลที่ว่างก่อนครบวาระ
1.กรรมการที่มาจากการแต่งตั้ง ให้หน่วยงานนั้นพิจารณาผู้เหมาะสมและเสนอชื่อผู้แทนคนใหม่เสนอสภากาพยาบาลแต่งตั้งต่อไป
2.กรรมการจากการเลือกตั้ง
3.กรณีวาระกรรมการจากการเลือกตั้งเหลือไม่ถึง 90 วัน จะไม่ให้เลือกตั้งแทนก็ได้
การดำเนินการกิจการของคณะกรรมการ
1.การประชุมคณะกรรมการ จะครบเป็นองค์น้อยกว่ากึ่งหนึ่งของจำนวนกรรมการทั้งหมด อย่างน้อย16 คน หากคณะกรรมการ มี 33 คน ต้องไม่น้อยกว่า 17 คน
2.มติที่ประชุมให้ถือเสียงข้างมาก ถ้าคะแนนเสียงเท่ากันให้ประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีกหนึ่งเสียงเป็นเสียงชี้ขาด เฉพาะในการลงมติทั่วไป
3.เรื่องสภานายกพิเศษ สภานายกพิเศษจะเข้าฟังการประชุม และชี้แจงแสดงความเห็นในที่ประชุมคณะกรรมการ หรือส่งความเป็นหนังสือไปยังคณะกรรมการในเรื่องใดๆก็ได้
4.เรื่องความเห็นชอบและการยับยั้งมติกรรมการ
นางสาววิยะดา ลินลา 36/2 เลขที่ 27