Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล**, นางสาวสหทัย ชาวโพงพางเลขที่36,…
กฎหมายวิชาชีพการพยาบาล
**
การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตรการควบคุมผู้
ประกอบ
วิชาชีพ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
2.ให้มีข้อกำหนดจริยธรรมแห่งวิชาชีพ
3.มีมาตรการลงโทษ ในกรณีทีละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ ระบุสาระของการดำเนินการสอบสวน การตัดสิน และโทษ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
1.การกระทำต่อตนเอง
2.การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากความทุกข์ทรมานในเงื่อนไขดังนี้
2.1ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดๆ
2.2ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
2.3ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
3.นักเรียน นักศึกษา ในสถาบันที่สภาฯรับรอง ภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะ ที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพการพยาบาล
5.ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพฯในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ (4หมวด 38ข้อ)
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
1.ผู้เสียหาย กล่าวหา ต่อสภาการพยาบาล
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
4.สภาฯส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อได้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภา
5.สภาฯส่งเรื่องให้คณะอนุกรรมการสอบสวนพิจารณา สอบสวน เมื่อได้ข้อมูลส่งคณะ
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
การพิจารณาสอบสวน กฎหมายให้สิทธิคัดค้านการแต่งตั้งอนุกรรมการได้ โดยบุคคล
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้ถูกกล่าวหา
คู่สมรส หรือเป็นญาติเกี่ยวข้องกับบุพการี ผู้สืบสันดาน
พี่น้องร่วมบิดามารดากับผู้ถูกกล่าวหา กล่าวโทษ
การขอขึ้นทะเบียนใหม่ภายหลังถูกเพิกถอนใบอนุญาตระยะเวลาต้องพ้น 2 ปี นับแต่วันที่สภาการพยาบาลมีคำสั่งเพิกถอนใบอนุญาต (ไม่ใช่
วันที่รับทราบคำสั่ง)ถ้าถูกปฏิเสธครั้งที่ 1 สามารถยื่นขอครั้งที่ 2 ภายหลังครบ 1 ปี นับแต่วันที่คณะ
กรรมการสภาฯมีคำสั่งปฏิเสธคำขอครั้งแรก
สถานที่ที่กฎหมายกำหนด ได้แก่
1.สถานที่ประกอบการที่มีผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์
2.สถานที่มีเหตุผลสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพการพยาบาล การผดุงครรภ์
3.สถานที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนวิชาการพยาบาล การผดุงครรภ์
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 2000 บาท
2.บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ(พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ ได้จากการตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติ)
3.ต้องพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องส่งคืนใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืน
4.การไม่มาให้ถ้อยคำหรือไม่ส่งเอกสาร ต้องโทษจำคุกไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกิน 1000 บาท
5.ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท
การเพิ่มโทษทางวิชาชีพตามกฎหมาย(มาตรา44)จากพักใช้เป็นเพิกถอนเกิดขึ้นในกรณีเดียวคือระหว่างถูกพักใช้และเพิกถอนไปประกอบวิชาชีพหรือแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็นผู้มีสิทธิประกอบวิชาชีพฯ
บทเฉพาะกาลเพิ่มเติม(พระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2540)
1.ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพฯ พ.ศ.2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
2.ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์
3.ผู้ที่ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 แต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปี หรือ
ประกาศนียบัตรเทียบเท่าอนุปริญญาในสาขาการพยาบาล
4.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียมใหม่ท้ายพระราชบัญญัตินี้แทน
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
พระราชบัญญัติ วิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ พ.ศ.2528 ที่แก้ไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์(ฉบับที่2)พ.ศ.2540
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ
ที่ยาวนานพอสมควร
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในแง่กฎหมาย
พระราชบัญญัติวิชาชีพการพยาบาล
ความสำคัญของกฎหมายวิชาชีพ
1.อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
2.มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพ (ทั้งการศึกษาและการฝึกงาน)ที่ยาวนานพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
3.สามารถให้บริการแก่ผู้รับบริการได้มาตรฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
4.มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อปกป้องผู้รับบริการ
5.มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
6.มีองค์กรวิชาชีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในแง่
การประกอบวิชาชีพการพยาบาล
1.การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพ
2.การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหาความเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค การลุกลามของโรค
3.การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาโรคเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
4.การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
5.ทั้งนี้ โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะการพยาบาลในการประเมินสภาพการวินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการ และการประเมินผล
ความหมายของการช่วยเหลือแพทย์กระทำการ
รักษาโรค
ก่อนที่กฎหมายลูกเกี่ยวกับการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรคเบื้องต้น
การเพิ่มสาระสำคัญใน พ.ร.บ.สถานพยาบาลที่อนุญาตให้เปิดสถานพยาบาล
ตรวจรักษาโรคเบื้องต้นจะผ่านการบังคับใช้ผู้ปฏิบัติการพยาบาลและบุคลากรอื่น
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล(มาตรา6)
1.เป็นนิติบุคคล ตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
2.การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ(พ.ร.บ.) ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลายและไม่สามารถเลิกกิจการเหมือนเช่นนิติบุคคลทั่วไป
นิติบุคคลตามกฎหมายแพ่งและพาณิชย์
1.เป็นบุคคลสมมุติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทั่วไป ยกเว้น สิทธิที่บุคคลจริงจะมีได้ เช่น การจดทะเบียนสมรส เป็นต้น
2.นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับผิดในฐานะตัวการ และนิติบุคคลนี้ถูกฟ้องล้มละลายได้
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล (มาตรา7)อำนาจและหน้าที่ของสภาการพยาบาล (มาตรา8)รายได้ของสภาการพยาบาล(มาตรา9)
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ ค่าบำรุง และค่าธรรมเนียมต่างๆ
3.จากการหารายได้ของสภาการพยาบาล โดยใช้เพื่อวัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล เช่น จัดสวัสดิการให้สมาชิก
4.รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
ตราสภาการพยาบาลการเป็นนิติบุคคลต้องมีตราตามกฎหมายเป็นรูปวงกลมมีตะเกียงตั้งอยู่บนฐานของดอกบัว
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย(หมวด2มาตรา11-13)
ประเภทของสมาชิก มี 2 ประเภทดังนี้
1.สมาชิกสามัญ
2.สมาชิกกิตติมศักดิ์
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
1.โรคจิต โรคประสาท
2.การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
3.โรคในระยะปรากฏอาการเป็นที่น่ารังเกียจต่อสังคม
การขึ้นทะเบียนเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
1.สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและมิใช่สัญชาติไทย
2.สำเร็จในต่างประเทศ
-สำเร็จการศึกษาพยาบาลตาที่กำหนด
-ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
-สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
-สอบขึ้นทะเบียน
เ
กณฑ์สำหรับผู้ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีที่สำเร็จการ
ศึกษา
1.สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
2.หลัง 24 ธันวาคม 2540 (สมัครเป็นสมาชิกสามัญและขอสอบขึ้นทะเบียน)
ประเภทของใบอนุญาต มี3ประเภท
1.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพฯ
1.พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
2.ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
3.ใบอนุญาตหมดอายุ
ความแตกต่างระหว่างคุณสมบัติของกรรมการ
สภาและสมาชิกสามัญ
1.การไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
2.ไม่เคยถูกพักใช้ เพิกถอน
กรรมการจะดำรงตำแหน่งมากกว่า 2 วาระ ติดต่อกันไม่ได้
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายกสภาฯ
1.ดำเนินกิจการของสภาการพยาบาล
2.เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
3.เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการสภา
เลขาธิการสภา
1.ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
2.ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภาฯ
3.รับผิดชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
4.ควบคุมทรัพย์สินของสภาฯ
5.เป็นเลขานุการคณะกรรมการ
นางสาวสหทัย ชาวโพงพางเลขที่36
แหล่งอ้างอิงจากสื่อการเรียนการสอน