Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีปัญหาสุขภาพร่วมกับการตั้งคร…
การใช้กระบวนการพยาบาลในการดูแลมารดาและทารกที่มีปัญหาสุขภาพร่วมกับการตั้งครรภ์ในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด และระยะหลังคลอด
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ :red_flag:
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
อาการ/อาการแสดง
ระยะฟักตัว 60-150วัน
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระซีด ปวดข้อ อาจมีตัวตาเหลือง
ผลกระทบ
เบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
ตกเลือดก่อนคลอด
คลอดก่อนกำหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
การรักษา
ก่อนคลอด : หลีกเลี่ยงการเจาะน้ำคร่ำ
ระยะคลอด : ใช้หลัก universal precaution
หลังคลอด : ให้ HBIG 400 IU ทันที/ภายใน12 hr ควรได้รับวัคซีนภายใน 7 วันและให้ซ้ำภายใน 1 เดือน/ 6 เดือน Exclusive breastfeeding หากไม่มีรอยแผล
หัดเยอรมัน (Rubella)
การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปาก
แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
ฟักตัว 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
ระยะแพร่กระจายเชื้อ คือ 7 วันก่อนผื่นขึ้นจนถึง 7 วันหลังผื่นขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสโรค
ตรวจร่างกาย
ส่งตรวจ ELISA
อาการ/อาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ
ตุ่มนูน ผื่นแดง/สีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตามผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษา
ถ้าในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์ Therapeutic abortion
ในรายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ เเพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนำให้พักผ่อนเพียงพอ
ดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้ให้ทานยา Paracetamal
ซิฟิลิส (Syphilis)
เชื้อเข้าสู่ร่างกายผ่านทางรอยฉีกขาด
แพร่ผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง
แพร่ผ่านรกโดยตรง และขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
การวินิจฉัย
ตรวจ VDRL / RPR
ตรวจ FTA-ABS
ตรวจ CSF
อาการ
Primary syphilis : หลังรับเชื้อ 10-90 วัน แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
Secondary syphilis : ทั่วตัว ฝ่ามือ ฝ่าเท้า ไข้ ปวดตามข้อ ข้ออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ผมร่วง
Latent syphilis : ไม่เเสดงอาการ
Tertiary or late syphilis : ทำลายอวัยวะภายใน
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้ง
คลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมน้ำ
ทารกตาบอด
การรักษา
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายความเสี่ยงของโรค ผลต่อทารก
ส่งคัดกรอง VDRL
หากมีเชื้อดูแลให้ได้รับยาATB
ระยะคลอด
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูดเมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารกส่งตรวจ
ระยะคลอด
ให้นมได้ตามปกติ รักษาความสะอาด
รับประทานยาต่อเนื่องและมาตามนัด
โรคเริมที่อวัยวะเพศ
(Genital herpes simplex infection)
การติดเชื้อ Herpes simplex virus (HSV)
HSV type 1 เกิดเริมที่ปาก
HSV type 2 เกิดโรคเริมที่อวัยวะเพศและทวารหนัก
อาการ/อาการแสดง
Vesicles ที่ผิวหนังของอวัยวะเพศ มีอาการปวดแสบปวดร้อนมาก
ไข้ ปวดเมื่อยตัว
ต่อมน้ำเหลืองโต และอ่อนเพลีย
ภาวะแทรกซ้อน
ตาอักเสบ
ตุ่มใสๆ
ไข้ หนาวสั่น
ซึม
ตับ ม้ามโต
การรักษา
ควรให้ยาATBและดูแลแผลให้สะอาด
การให้ยา Antiviral drug
กรณีที่มี Herpes lesion ควรได้รับการผ่าตัดคลอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ลดความไม่สุขสบาย
ดูแลแผลให้แห้งสะอาด
ให้ยาต้านไวรัส
หลีกเลี่ยงการมีเพศสัมพันธ์ขณะมีแผล ควรใช้ถุงยางอนามัย
ระยะคลอด
ใช้หลัก Universal precaution หลีกเลี่ยงการทำหัตถการ
ระยะหลังคลอด
ให้นมได้ตามปกติ รักษาความสะอาด
หูดหงอนไก่
(Condyloma accuminata and pregnancy)
เป็นโรคติดต่อทางเพศสัมพันธ์ ที่เกิดจากเชื้อไวรัส Human papilloma virus (HPV) type 6, 11
การวินิจฉัย
ประวัติการสัมผัสผู้ติดเชื้อ
สังเกตติ่งเนื้อบริเวณอวัยวะสืบพันธุ์ภายนอก รอบทวาร ปากช่องคลอด
ทำ pap smear
อาการ/อาการแสดง
หูดขึ้นรอบๆ ทวารหนักและในทวารหนัก
ก้อนสีชมพู นุ่ม ผิวขรุขระ มีสะเก็ด คล้ายดอกกระหล่ำ
ตกขาวมีกลิ่นเหม็นและคัน
การรักษา
จี้ด้วย trichloroacetic acid
จี้ไฟฟ้า แสงเลเซอร์
สามารถคลอดทางช่องคลอดได้ ถ้าหูดไม่ขัดขวางช่องทางคลอด
การพยาบาล
ดูแลให้ได้รับการจี้หูดตามแผนการรักษา
รักษาความสะอาดของอวัยวะเพศ
เน้นรับประทานอาหารที่มีประโยชน์
ออกกำลังกาย ลดภาวะเครียด
ติดเชื้อHIV
การตรวจพบปฏิกิริยาทางน้ำเหลืองต่อเชื้อ HIV (Human immunodeficiency virus) เป็นบวก
การวินิจฉัย
ซักประวัติการร่วมเพศ การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
ตรวจร่างกาย มีไข้ ต่อมน้ำเหลืองโต น้ำหนักลด
การตรวจคัดกรองโรคเอดส์ คือ ELISA
การตรวจยืนยันการตรวจ เช่น WB, IFA
อาการ/อาการแสดง
กลุ่มที่ 1 ไม่มีอาการทางคลินิก ตรวจ ELISA ให้ผลบวก
กลุ่มที่ 2 เป็นอาการคล้ายโรคเอดส์ คือ ไข้ ปวดเมื่อยตามตัว อ่อนเพลีย ผื่นตามตัว ปวดศีรษะ เจ็บคอ ผล CD4 ต่ำกว่า 500-200 cm3
กลุ่มที่ 3 มีอาการสัมพันธ์กับเอดส์ คือ มีไข้สูงฉับพลัน ไข้ต่ำๆนานกว่า 2-3 เดือน ปวดศีรษะ เจ็บคอ คลื่นไส้อาเจียน ต่อมน้ำเหลืองโต ท้องเดินเรื้อรัง น้ำหนักลด
การติดต่อ
ทางเพศสัมพันธ์
มารดาสู่ทารก
กระแสเลือด
การใช้เข็มฉีดยาร่วมกัน
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจหาระดับ CD4 ถ้าต่ำกว่า 400 ให้ PCP
ให้ยาตามแผนการรักษา
แนะนำวิธีป้องกันการแพร่เชื้อ
ระยะคลอด
จัดให้ผู้คลอดอยู่ห้องแยก
หลีกเลี่ยงการทำให้ถุงน้ำคร่ำแตก/รั่ว
ยึดหลัก Universal precaution
ระยะหลังคลอด
จัดให้อยู่ห้องแยก
งดให้นมบุตร
ทารกหลังคลอดให้ NPV 2 มก./กก. ทันที และให้ AZT 2 มก./กก./วัน และติดตามการติดเชื้อหลังคลอด 12-18 เดือน
การติดเชื้อไวรัสซิกกา (Zika fever)
เกิดจากเชื้อ Zika virus
ยุงลายเป็นพาหะสำคัญของโรค
อาการ
ไข้ ปวดศีรษะ ออกผื่นที่ลำตัว และแขนขา ปวดข้อ ปวดในกระบอกตา เยื่อบุตาอักเสบ
การวินิจฉัย
การซักประวัติการเดินทาง ที่อยู่อาศัย
การตรวจหาแอนติบอดี IgM และ IgG ต่อไวรัสซิกา โดยวิธี ELISA
ส่งตรวจน้ำคร่ำ เลือดจากสะดือทารก เพื่อดูการติดเชื้อของทารกในครรภ์
ภาวะแทรกซ้อน
ภาวะศีรษะเล็กแต่กำเนิดของทารกในครรภ์ ตรวจUSการเจริญเติบโตของทารกทุก 4 สัปดาห์
การรักษา
ให้พักผ่อนอย่างเพียงพอ
ดื่มน้ำ 2,000-3,000ต่อวัน
ให้ยาพาราเซตามอล เพื่อบรรเทาอาการปวด ลดไข้
ห้ามรับประทานยา Aspirin ยากลุ่ม NSAIDs