Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดโดยหัตถการ - Coggle Diagram
การบำบัดโดยหัตถการ
การกู้ชีวิตหรือ CPR หัวใจการทำให้ฟื้นคืน
CPR แบ่งเป็น 2 ระดับ
การช่วยชีวิตขั้นสูง Advanced
Cardiovascular Life Sopport (ACLS.)
การช่วยเหลือชีวิตขั้นพื้นฐาน Basic Life Support (BLS.)
หลักการช่วยเหลือฟื้นนคืนชีพ ขั้นพื้นฐาน Basic. Life Support (BLS)
โดยวิธีปฏิบัติ คือ กดหน้าอก (0-30 ครัง > เปิดทางเดินหายใจ(A)> ช่วยหายใจ (B) 2ครัง= 30:2 ทํา CPR จนกว่ากู้ชีพจะมาถึง หรือจนกว่าผู้ปวยจะรู้สึกตัว
ตามลําดับขั้นตอนเป็น CA-B (Chest compression-Airway-Breathing)
A : Airway
B : Breathing
C :Chest compression
ข้อบ่งชีในการปฏิบัติการช่วยฟื้นคืนชีพ
ผู้ทีมีภาวะหยุดหายใจ โดยทีหัวใจยังคงเต้นอยู่ประมาณ 2-3 นาที ให้ผายปอดทันที จะช่วยป้องกันภาวะหัวใจหยุดเต้นได้ และช่วยป้องกันการเกิดภาวะเนื้อเยื่อสมองขาดออกชิเจนอย่างถาวร
ผู้ทีมีภาวะหยุดหายใจและหัวใจหยุดเต้นพร้อมกัน ซึงเรียกว่า clinical death การช่วยฟื้นคืนชีพทันทีจะช่วยป้องกันการเกิด biological death คือ เนื้อเยื่อโดยเฉพาะเนื้อเยื่อสมองขาดออกซิเจน
ความหมายของCPR
การปฏิบัติการเพื่อช่วยฟื้นการทํางานของระบบไหลเวียนเลือดทีหยุดทํางานอย่างกระกันหัน เพือให้หัวใจกลับมาเต้นเองได้ตามปกติโดยไม่เกิดความพิการของสมอง
การทําCPR เมื่อพบ Cardiopulmonary arrest
คลําชีพจรที่คอ หรือที่ขาหนีบไม่ได้ และฟังเสียงหายใจไม่ได้
ผิวหนังซีด เขียวคล้ำ
ไม่หายใจ หรือหายใจกระตุกนานๆ ครั้ง
ม่านตาขยาย (หลังหัวใจหยุดเต้น 45 วินาที)
หมดสติ เรียกไม่ตอบสนอง เกิดขึ้นหลังจากหัวใจหยุดทํางาน 3-6 วินาที
ข้อระวังในการทําCPR
การกดด้วยอัตราเร็วเกินไป เบาไป ถอนแรงหลังกดไม่หมดทําให้ปริมาณเลือดไปถึงอวัยวะต่างๆ ทีสําคัญได้น้อย ทําให้ขาดออกซิเจน
การกดแรงและเร็วมากเกินไป ทําให้กระดูกหน้าอกกระดอนขึ้น-ลงอย่างรวดเร็ว หัวใจซาเลือดหรือกระดูกหักได้
วางมือผิดตําแหน่ง ทําให้ซี่โครงหัก , xiphoid หัก ,กระดูกทีหักทิ่มโดนอวัยวะสําคัญ เช่น ตับ ม้าม เกิดการตกเลือดถึงตายได้
การเปิดทางเดินหายใจไม่เต็มที่ เป่าลมมากเกินไป ทําให้ลมเข้ากระเพาะอาหาร เกิดท้องอืด อาเจียน ลมเข้าปอดไม่สะดวก ปอดขยายตัวไม่เต็มที่
่
การกดหน้าอกลึกเกินไป ทําให้หัวใจชอกช้ำได้
เกณฑ์การประเมิน ABCDE
C:Circulation เป็นการประเมินเกี่ยวกับเลือดและไหลเวียนเลือด
D : Disability เป็นการประเมินอาการและอาการแสดงที่เกี่ยวกับการรับรู้
B : Breathing เป็นการประเมินลักษณะการหายใจ
E: Exposure เป็นการประเมิน อาการและอาการแสดงที่เกี่ยวกับบาดแผลอุณหภูมิกาย
A:Airway เป็นการประเมินว่าทางเดินหายใจโล่ง หรือมีการอุดกั้น
การช่วยเหลือผู้ปวยที่อุดกั้น
ทางเดินหายใจ
ระดับความรุนแรง
ของการอุดกั้น
การอุดกั้นไม่รุนแรง
อาการและอาการแสดง
ไอแรงๆได้
อาจได้ยินเสียงหายใจหวีด (wheeze) ระหว่างการไอ
สามารถหายใจได้ มีการแลกเปลียนก๊าซ
การอุดกั้นรุนแรง
อาการและอาการแสดง
หายใจลําบาก ไม่มีการแลกเปลียนก๊าซ
ไอเบาๆ หรือไม่สามารไอได้
พูดหรือร้องไม่มีเสียง
มีเสียงลมหายใจเข้าเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเสียง
ใช้มือกุมบริเวณลําคอ
หน้าเขียว ปากเขียว
สาเหตุของการอุดกั้น
เกิดจากการสําลัก
เกิดจากการอุดกั้นทางเดินหายใจ
เกิดจากสิ่งแปลกปลอม เข้าสู่ส่วนต่างๆ ของร่างกาย
การดูแลต่อเนื่องและการส่งต่อ
หลังจากให้การช่วยเหลือผู้ปวยแล้ว ควรประเมินซ้ำว่าผู้ปวยยังมีอาการไอต่อเนือง กลืนลําบาก หรือยังรู้สึกว่ามีสิงแปลกปลอมติดอยู่ในคออีกหรือไม่ อาการดังกล่าวอาจเปนสิงบ่งชีว่ามีเศษสิงแปลกปลอมตกค้างอยู่ในทางเดินหายใจส่วนบนและส่วน ล่างทีอาจก่อให้เกิดผลแทรกซ้อนตามมา นอกจากนีขันตอนการช่วยเหลือโดยการทํา Heimlich maneuver หรือ การกดหน้าอกอาจก่อให้เกิดการบาดเจ็บต่ออวัยวะภายในตามมาได้ จึงควรแนะนําให้ผู้ปวยไปตรวจเพิมเติมยัง สถานพยาบาล/โรงพยาบาล/แพทย์เพือรับการประเมินซ้ำ
การช่วยเหลือ
การอุดกั้นไม่รุนแรง
สังเกต เฝ้าติดตามอาการผู้ปวยอย่างใกล้ชิด
หากยังคงมีการอุดกั้นต่อเนื่องหรืออาการอุดกั้นมีความรุนแรงมากขึ้น ให้ขอความช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉินหรือโทร 1669
กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอและพยายามหายใจด้วยตนเอง
การอุดกั้นรุนแรง
วิธีที 2
ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้ป่วยหมดสติ ในเด็กโตและผู้ใหญ่
เริมทําการกดหน้าอกนวดหัวใจทันที โดยไม่ต้องประเมินชีพจร (กรณีผู้ช่วยเหลือมีทักษะในการคลําชีพจร) กดหน้าอกนวดหัวใจต่อเนือง 30 ครัง
ทําการช่วยหายใจ โดยการจัดท่าเปดปากผู้ปวย มองหาสิงแปลกปลอมก่อนทําการช่วยหายใจ หากมองเห็นสิงแปลกปลอมในปากผู้ปวยให้ใช้นิวกวาดสิงแปลกปลอมออกมา (finger sweep) แต่หากมองไม่เห็นสิงแปลกปลอมหรือไม่มันใจห้ามใช้นิวกวาดเพราะอาจทําให้สิงแปลกปลอมหลุดเข้าไปอุดทาง เดินหายใจอีกครัง
กรณีผู้ปวยหมดสติ ไม่รู้สึกตัว จัดให้ผู้ปวยอยู่ในท่านอนหงายบนพืนราบ
ให้ทําการช่วยหายใจทันที โดยใช้นิ้วชี้และนิ้วโป้งบีบจมูกผู้ป่วย และเป่าลมเข้าปากของผู้ป่วย 2 ครั้ง
ตะโกนขอความช่วยเหลือ หากมีผู้ช่วยเหลือมากกว่า 1 คน ให้ผู้ช่วยเหลืออีกคนไปขอความช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉิน หรือโทรเบอร์ 1669
ทําการกดหน้าอกนวดหัวใจต่อเนืองและช่วยหายใจ ตรวจดูสิงแปลกปลอมในปาก ต่อเนืองเป็นรอบในอัตรากดหน้าอก 30 ครัง ช่วยหายใจ 2 ครัง ทําซาประมาณ 5 รอบ หรือ 2 นาที จนกว่าความช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง หรือจนกว่าจะขจัดสิงแปลกปลอมออกมาได้
วิธีที 3
ขันตอนการช่วยเหลือกรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี ทียังรู้สติ แต่ไม่สามารถไอได้ ร้องไม่มีเสียง
ใช้มือข้างหนึงประคองศีรษะและกรามเด็กให้มันคงในท่าควาหน้า วางตัวเด็กบนท่อนแขนลักษณะศีรษะตากว่าลําตัว อาจพักแขนบนหน้าขา ระวังอย่ากดบริเวณใต้คางหรือคอของทารก
หากสามารถทําใด้ให้ถอดเสือผ้าเด็กเพือให้มองเห็นตําแหน่งในการตบหลังและกดหน้าอก
ผู้ช่วยเหลือนั่งบนเก้าอีหรือนั่งคุกเข่า วางเด็กบนตักของผู้ช่วยเหลือ
วิธีที 1
การรัดกระตุกหน้าท้องในผู้ปวยทียังรู้สติ ในท่ายืนหรือนัง ในเด็กโตและผู้ใหญ่
วางมือที่กําไว้โดยให้นิ้วโป้งอยู่ใต้ลิ้นปี่ของผู้ป่วย ในแนวกึ่งกลาง
ใช้มืออีกข้างรัดกระตุกกําปนกระทุ้งดันบนมือทีกําในแนวเข้าในและเฉียงขึ้นบน ทําซ้ำ 5 ครัง หรือทําซาจนกว่าสิงแปลกปลอมจะหลุดออกมา หรือผู้ปวยหมดสติ กรณีเปนสตรีตังครรภ์หรือกรณีผู้ปวยทีมีภาวะอ้วน ให้ทําการรัดกระตุกบริเวณหน้าอกของผู้ปวยแทน (chest thrusts)
กํามือข้างหนึ่งโดยเก็บนิ้วโป้งเข้าด้านใน อีกสี่นิ้วกําทับนิ้วโป้ง
ประเมินผู้ปวยซ้ำว่ามีสิ่งแปลกปลอมออกมาหรือไม่ รัดกระตุกหน้าท้องซ้ำหากสิ่งแปลกปลอมยังติดอยู่ กรณีผู้ปวยหมดสติ ให้ทําการกดหน้าอกนวดหัวใจทันทีพร้อมขอความช่วยเหลือจากระบบการแพทย์ฉุกเฉินหรือ โทร1669
ยืนหรือคุกเข่าด้านหลังผู้ป่วย ใช้มือโอบรอบเอวของผู้ป่วย