Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, นางสาว ณัฐรีญา ชัยเภท…
บทที่ 1 การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Family Centered Care/สิทธิเด็ก
บทบาทของครอบครัวต่อเด็กเจ็บป่วย
มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการเจ็บป่วยมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงการ พัฒนาการ
บิดามารดาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยของเด็กเกี่ยวกับสาเหตุการ เจ็บป่วย
สัมพันธภาพเละความรู้สึกระหว่างเด็กป่วยเละสมาชิกในกรอบครัว
การปรับตัวของเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
การติดต่อกับผู้ให้บริการแก่เด็กและครอบครัว
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ให้การดูแลเด็กและสมาชิกในครอบครัว
การป้องกันความผิดปกติ
ส่งเสริมการปรับตัวของเด็กกับพี่น้องบิดา มารดาและครอบครัว
ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ส่งเสริมให้ เด็กใช้ชีวิตด้วยการใช้อุปกรณ์ในการช่วยเหลือขณะมีการเจ็บป่วยใน ภาวะวิกฤตและระยะเรื้อรังอย่างปกติสุข
มีส่วนร่วมในการพัฒนาให้ ความรู้แก่บิดามารดาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางด้านร่างกายจิตใจ อารมณ์ สังคมของเด็ก
บทบาทของพยาบาลในการดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ
ป้องกันภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นได้ละส่งเสริมให้เด็กและครอบครัวดูแลการเจ็บป่วยขั้นต้นได้
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ปวยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ประสานและส่งต่อกับพยาบาลในชุมชนเกี่ยวกับการดูแลเด็กป่วยและสมาชิก ในครอบครัว
ส่งเสริมทางด้านจิตสังคมให้เด็กและสมาชิกครอบครัวมีการปรับตัวต่อภาวะ วิกฤตได้
สิทธิเด็ก
หมายถึง บุคคลซึ่งมีอายุต่ำกว่า 18 ปีบริบรูณ์ แต่ ไม่รวมถึงผู้ที่บรรลุนิติภาวะด้วยการสมรส
สิทธิขั้นพื้นฐานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็ก
สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด
สิทธิในการพัฒนา
สิทธิในการมีส่วนร่วม
สิทธิในการได้รบัการคุ้มครอง
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤต
ภาวะวิตกกังวลจากการพลัดพราก Separation Anxiety
วัยทารก
(อายุแรกเกิด-1ปี)
ร้องกวน จะเกาะติดมารดาตลอดวลา
ให้ของเล่นที่ชอบ
วัยหัดเดิน
(อายุ 1-3 ปี)
ความวิตกกังวลจากการแยกจาก
เด็กวัยนี้ยังไม่มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเวลา รับรู้ เหตุการณ์ไม่ถูกที่ต้องยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง
ไม่มีความอดทนการแยกจากบิดามารดาเสมือนการถูก ทอดทิ้ง
พบบ่อยในวัยเด็ก 6เดือน -3 ปี
วัยเรียน
(อายุ 6-12 ปี)
กลัวร่างกายได้รับบาดเจ็บ
กลัวความตาย เด็กต้องการคำอธิบายที่เป็นเหตุเป็น ผลเชิงวิทยาศาสตร์มากขึ้น
อธิบายให้เด็กฟังเกี่ยวกับโรค การรักษาพยาบาล การดูแลตนเอง อย่างเป็น
เหตุเป็นผลในเชิงวิทยาศาสตร์ด้วยข้อความง่ายๆ และเป็น รูปธรรม
วัยรุ่น
(อายุ 12-21 ปี)
วัยรุ่นพัฒนากลไกการปรับตัวต่อความเครียดได้ดีกว่าเด็กวัยอื่น
ให้เด็กมีส่วนร่วมในการวางแผนการพยาบาล
กระตุ้นให้เด็กชว่ยเหลือตนเองมากทสีุ่ดเท่าที่จะทำได้
มี 3 ระยะ
ระยะประท้วง (protest)
ร้องไห้เสียงดัง กรีดเสียงร้อง
ให้เด็กมีของรักหรือของคุ้นเคยไว้ติดตัว หรือมอบของเล่นประจำตัว เช่น ผ้าเช็ดหน้าไว้กับเด็ก เพื่อให้เด็กเกิดความมั่นใจว่าบิดามารดาจะต้องกลับมาหา
เมื่อบิดามารดาจะกลับบ้านจะต้องบอกลาเด็กเสมอ ไม่ควรหลอกเด็กหรือแอบหนีกลับ
ระยะหมดหวัง(despair)
เศร้าซึม
ปลอบโยน อยู่ใกล้ชิต กอด โยกกล่อมเด็ก
ระยะปฏิเสธ (denial o detachment)
การปฏิเสธบิดามารดา
สร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
ให้บิดามารดาได้แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
ความปวด Pain
วัยทารก
ช่วยเหลือโดยอุ้ม –สัมผัส -ทำหัตถการ
วัยเตาะแตะและวัย ก่อนเรียน
ช่วยโดย เล่นบทบาทสมมุติ ครอบครัวมีส่วนร่วมในการทำหัตถการ
วัยเรียน
ช่วยโดย อธิบายทำความเข้าใจ –อยู่ คุยขณะทำหัตถการวัยเรียน
วัยรุ่น
ช่วยโดย อธิบายเป็นเหตุผลแบบผู้ใหญ่
เครื่องมือใช้ประเมิน
NIPS
FLACC
Numeric rating scale
CHEOPS
Behavior pain scale
FACE scale :
ความเครียดและการเผชิญกับความเครียด Stress and coping
เด็กจะเกิด ความเครียดได้ เมื่อเผชิญกับ เหตุการณ์ที่ทำให้เด็กสูญเสียการควบคุม
โดยให้กำลังใจเด็กและพ่อแม่ อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่เด็กเป็นอยู่และแนวทางการรักษาของแพทย์ ในขอบเขตที่สามารถบอกได้
เปิดโอกาสให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดแูลเด็กป่วย สนับสนุนให้เด็กได้เล่นของเล่นที่ชอบและไม่เป็นอันตราย
สนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวช่วยเหลือในกิจกรรม การพยาบาล
ระยะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย
การส่งเสริมการเผชิญความเครียด
การลดความรู้สึกที่ แตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกติ
ระยะสุดท้าย
การดูแลให้เด็กตายอย่างสงบโดยไม่มีอาการปวด
เป็นการดูแลที่ คงไว้ซึ่งศกัดิ์ศรีของความเป็นมนุษย
ระยะยอมรับ
ระยะซึมเศร้า
ระยะตกใจและปฏเิสธ
ระยะต่อรอง
ระยะโกรธ
ภาพลักษณ์
โดยเฉพาะเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น
์ เป็นการรับรู้ของบุคคลต่อลักษณะภายนอกของตน เมื่อเจ็บป่วยร่างกายจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างลกัษณะภายนอก
การตาย
วัยทารก
เครียดจากความหิว เจ็บ พลัดพลาด
วัยก่อนเรียน
มักคิดว่าการนอนหลัก ตายแล้วฟื้นใหม่ได้
วัยหัดเดิน
การสูญเสียผู้ดูแล มองหาความปลอดภัย มีพฤติกรรมถดถอย
วัยเรียน
การตายเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ ตายแล้วตายพ้น
วัยรุ่น
เข้าใจยอมรับ การตายเป็นการจากไปอย่างถาวร
นางสาว ณัฐรีญา ชัยเภท นักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 3 รหัส 612901030