Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
5.6 โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
:<3: ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
มารดาเป็นพาหะหรือ มีการอกัเสบของตับ เรื้อรัง
Hepatitis B core antigen (HBcAg)
ส่วนแกนกลางมี DNA ที่ร่างกลม ซึ่งจะ ตรวจไม่พบในเลือดหรือสารคัดหลั่งของ ร่างกาย แต่จะพบในนิวเคลียสตับของสตรี ตั้งครรภ์ที่ติดเชื้อ
Hepatitis B e antigen (HBeAg)
ส่วนประกอบย่อยที่เกิดจากกระบวนการ เผาผลาญแปรสภาพของ HBcAgใน กระแสโลหิต พบได้เฉพาะบุคคลที่มี HBsAg เป็นบวกเท่านั้นและสามารถติดต่อ และแพร่เชื้อได้มากกว่าร้อยละ 50
Hepatitis B surface antigen (HBsAg)
ส่วนที่เป็นเปลือกนอกของไวรัส สามารถ แพร่กระจายเชื้อผ่านทางเลือด น้ำลาย
น้ำตา สารคัดหลั่งทางช่องคลอด น้ำอสุจิ
น่ำคร่ำ น้ำปัสสาวะ
อาการและอาการแสดง
ระยะฟักตัวของโรคตับอักเสบบี ประมาณ 60-150 วัน
ไตรมาสที่ 1 และจะถ่ายทอดเชื้อไวรัสสู่ทารกได้ ร้อยละ 10
ไตรมาสที่ 3 ถ่ายทอดสู่ทารกได้ร้อยละ 75
มีไข้ อ่อนเพลีย เบื่ออาหาร คลื่นไส้ อาเจียน ปวดท้อง
ปัสสาวะสีเข้ม อุจจาระสีซีด ปวดข้อในรายที่มีอาการ รุนแรง มีอาการตัวเหลืองตาเหลือง
ผลกระทบ
เบาหวานในระหว่างตั้งครรภ์
การตกเลือดก่อนคลอด
การคลอดก่อนกาํหนด
ทารกน้ำหนักตัวน้อย
แนวทางการรักษา
ก่อนการคลอด
หลีกเลี่ยงการทำสูติกรรม การเจาะน้ำครํ่า
หากปริมาณไวรัสในเลือดสูงกว่า 200,000 IU/mL
TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง GA 28-32 สัปดาห์
หลังคลอด
TDF 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์ หลังคลอด
ติดตามตรวจดูระดับ ALT ทารกแรกเกิดโดยการใช้หลัก universal
precaution
Exclusive breastfeeding หากไม่มีรอยแผล
HBIG (400IU) ทันทีหรือภายใน 12 ชั่วโมงหลังคลอด
ควรได้รับวัคซีน ภายใน 7 วัน และให้ซ้ำภายใน 1 เดือนและ 6 เดือน
บทบาทพยาบาล ผดุงครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
Hx.ประวัติ การได้รับวัคซีน บุคคลในครอบครัว
อาการ : ไข้ เหนื่อย อ่อนเพลีย คลื่นไส้อาเจียน ตัวตาเหลือง
ส่งตรวจเลือด
ป้องกนัการแพร่กระจาย
ระยะคลอด
Universal Precaution
ติดตามความก้าวหน้า ไม่กระตุ้นคลอด
ทารก : Suction ให้เร็ว หมด ทำความสะอาด
ระยะหลังคลอด
BF
คุมกําเนิด ตรวจสุขภาพประจําปี
ป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
:recycle: หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
การติดเชื้อ
การติดเชื้อสามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัสโดยตรงต่อ
สารคัดหลั่งจากโพรงจมูกและปาก
แพร่เข้ากระแสเลือดในรก
ฟักตัวประมาณ 14-21 วันหลังสัมผัสโรค
ระยะการแพร่กระจายเชื้อคือ 7 วันก่อนผื่นขึ้น จนถึง
7 วันหลังผื่นขึ้น
การวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกาย
ว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
ส่งตรวจทางห้องปฏิบัติการ : ELISA
IgM และ IgG specific antibody ทันทีที่มี ผื่นขึ้นหรือภายใน 7-10 วัน หลังผื่นขึ้น
ควรติดตามการเพิ่มขึ้นของระดับไตเตอร์
เป็น 4 เท่าใน 2 สัปดาห์
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำๆ
Koplik's spot จุดสีขาวเหลืองขนาดเล็กคล้าย เม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้ม
ระยะออกผื่น
ผื่นแดงเล็กๆ (erythematous maculopapular)
ตุ่มนูน ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมาตาม ผิวหนังส่วนอื่นหายไปภายใน 3 วัน
ภาวะแทรกซ้อน
Congenital Rubella Syndrome
หูหนวก หัวใจพิการ ต้อกระจก
การรักษาพยาบาล
ในระยะ 3 เดือนแรก แพทย์จะแนะนําให้ยุติการตั้งครรภ์
“Therapeutic abortion” รายที่ไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์
แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
แนะนําพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนําดื่มนํ้ำให้เพียงพอ จิบบ่อยๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamalตามแพทย์สั่ง
:red_flag: ซิฟิลิส (Syphilis)
การติดเชื้อ
เชื้อเข้าสู่ร่างกายทางรอยฉีกขาดของผนังช่องคลอด
แพร่กระจายผ่านระบบหลอดเลือดและน้ำเหลือง
มีการอักเสบของปลายหลอดเลือดเล็ก ๆ
เกิดการอุดตันของรูหลอดเลือด ผิวหนังขาดเลือดตาย และเกิดแผล
แพร่ผ่านรกโดยตรงและขณะคลอดทางช่องคลอดที่มี รอยโรค
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด : การตรวจ VDRL หรือ RPR
: FTA -ABS (Fluorescent Treponemal Antibody Absorption Test)
ส่งตรวจน้ำไขสันหลัง
อาการและ อาการแสดง
Primary syphilis
หลังรับเชื้อ 10-90 วัน แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
แผลริมแข็งมีตุ่มแดง
Secondary syphilis
ทั่วตัว ฝ่ามือฝ่าเท้า ไข้ ปวดตามข้อ ข้ออักเสบ ต่อมน้ำเหลืองโต ผมร่วง
Latent syphilis
ไม่แสดงอาการ
Tertiary or late syphilis
ทำลายอวยัวะภายใน เช่น หัวใจ และหลอดเลือดสมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
การคลอดก่อนกำหนด
ทารกในครรภ์โตช้า
ทารกบวมนํา
ทารกตาบอด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
อธิบายความสําคัญของการคัดกรอง ความเสี่ยงของโรค ผลต่อทารกในครรภ์
ส่งคัดกรอง VDRL ครั้งแรกที่มาฝากครรภ์และตรวจซ้ำเมื่ออายุครรภ์ 28-32
สัปดาห์หรือห่างกันอย่างน้อย 3 เดือน
หากมีการติดเชื้อดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
แนะนำมาฝากครรภ์ตามนัดและติดตามผลการรักษาเมื่อครบ 6 และ 12 เดือน
แนะนํารักษาความสะอาดและป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ
แนะนำพาสามีมาตรวจคดักรอง
ดูแลด้านจิตใจ
ระยะคลอด
หลัก Universal precaution
ป้องกันการติดเชื้อโดยดูด เมือกออกจากปากและจมูกโดยเร็ว เจาะเลือดจากสายสะดือ ทารกเพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
สามารถให้นมได้ตามปกติ
ล้างมือก่อนและหลังสัมผัสทารก
แนะนำรับประทานยาและกลับมาตามนัดติดตามผลการรักษา
ให้คําแนะนําการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ