Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บกระดูกซี่โครงหักจากการตก เตียง จำนวน1ราย/8เดือน,…
ผู้ป่วยได้รับบาดเจ็บกระดูกซี่โครงหักจากการตก เตียง จำนวน1ราย/8เดือน
สาเหตุ
ปัจจัยภายใน (Intrinsic factors)
ลักษณะการเคลื่อนไหว
การเอื้อมหยิบสิ่งของข้างเตียง
สภาพร่างกายผิดปกติด้านการเดิน
การทรงตัวของผู้ป่วยที่ผิดปกติ
อันเนื่องมาจาก
กล้ามเนื้ออ่อนแรง
ซีดจาก Hct ต่ำ
ความอ่อนเพลียจากอิเลกโตรไลท์ผิดปกติ
ความสามารถของการเคลื่อนไหวไหวแขน ขา ลดลง
การประสานงานของระบบประสาทหรือการทรงตัวไม่ดี
ใช้อุปกรณ์ช่วยเดิน
มีความต้องการช่วยเหลือ
ความต้องการเกี่ยวกับการขับถ่าย
คือผู้ป่วยต้องการความช่วยเหลือ
ในการขับถ่ายที่อยู่บนเตียง
จำกัดการเคลื่อนไหว ผู้ป่วยที่กลั้นไม่ได้
หรือท้องเดิน ได้รับยาระบาย
การได้รับยา
Psychotherapeutic drugs
Antihypertensive drugs
sedative diuretic tranquilizer
Anticonvulsants
Cardiovascular drugs
สภาวะทางจิตใจ
ซึมเศร้า
ปัจจัยภายในอื่นๆ
การพักหลับไม่ได้ของผู้ป่วย
การได้รับสารที่เป็นอันตราย
ระยะเวลาที่นอน
ในโรงพยาบาล
ผู้ป่วยเคยได้รับการรักษา
ในหอผู้ป่วยหนัก
เพศ
การได้รับสารละลายทางหลอดเลือดดำ
ปัญหาด้านการมองเห็น
อายุ
อายุมากกว่า60ปีขึ้นไป
ผู้ป่วยเด็ก
ภาวะความเจ็บป่วย
ขณะอยู่ในโรงพยาบาล
การวินิจฉัยโรคครั้งที่ 2 หรือได้รับการวินิจฉัยมากกว่า 1โรค
การได้รับการวินิจฉัยว่าเป็นมะเร็งในระยะแรก
โรคที่เจ็บป่วยทางจิต
Delirium
Toxic/metabolic
Cardio pulmonary change
ปัจจัยภายนอกร่างกาย (Extrinsic factor)
ไม่มีป้ายเตือน
การเปลี่ยนผู้เฝ้าไข้/ญาติเฝ้าไข้
สภาพแวดล้อม
ที่ต่างระดับ
แสงสว่าง
พื้นผิวลื่น/ไม่เรียบ
สภาพเตียงผู้ป่วย
สถานที่ที่เกิดการตกเตียง
อุปกรณ์ในการผูกยึดไม่เพียงพอ
ไม่อยู่บนเตียงตามคำแนะนำ/ไม่ทำตารมคำแนะนำของเจ้าหน้าที
เจ้าหน้าที่
บุคลากรขาดความตระหนักในการดูแลผู้ป่วยเพื่อป้องกันการตกเตียงในผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงสูง
คุณภาพการเฝ้าระวัง/ปฏิบัติตามมาตรการไม่ต่อเนื่อง
ขาดการประเมินอย่างต่อเนื่อง
ขาดการให้คำแนะนำวิธีการ
ป้องกันการตกเตียง/ให้ข้อมูลไม่ทั่วถึง
:
กิจกรรมที่ทำขณะเกิดการตกเตียง
เอื้อมหยิบของ
นโยบายป้องกันความเสี่ยงของโรงพยาบาล
เวลาที่เกิดการตกเตียง
ไม้กั้นเตียงตก
วิเคราะห์สาเหตุปัญหา (Root Cause Analysis)