Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่4 กฎหมายวิชาชีพพชการพยาบาล, นางสาวลักษณารีย์ วัดแย้ม 36/2 เลขที่ 21…
บทที่4 กฎหมายวิชาชีพพชการพยาบาล
4.4การควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
มาตราการควบคุมผู้ประกอบวิชาชีพ
1.ห้ามผู้ไม่มีสิทธิคือไม่มีใบอนุญาตประกอบวิชาชีพ
2.ไม่มีข้อกำหนดตริยธรรมวิชาชีพ
3.มีมาตราการลงโทษ ในกรณีที่ละเมิดข้อกำหนดวิชาชีพ ระบุสาระของการดำเนินการ สอบสวน การตัดสิน และโทษ
ข้อยกเว้น ผู้ไม่มีใบประกอบวิชาชีพแต่สามารถประกอบวิชาชีพได้
1.การกระทำด้วยตนเอง
2.การช่วยเหลือดูแลบุคคลอื่นให้พ้นจากการทุกข์ทรมานในเงื่อนไขดังนี้
ไม่ได้รับประโยชน์ตอบแทนใดใด
ไม่ฉีดยาหรือสารใดๆเข้าไปในร่างกาย
ไม่ให้ยาอันตราย ยาควบคุมพิเศษ หรือวัตถุออกฤทธิ์ต่อจิตประสาท
3.นักเรียน นักศึกษาที่สถาบันสภารับรองภายใต้การนิเทศจากผู้ประกอบวิชาชีพ
4.ผู้ประกอบโรคศิลปะที่ทำตามเกณฑ์การประกอบวิชาชีพตนแต่เข้าข่ายการประกอบวิชาชีพพยาบาล
5.ผู้เชี่ยวชาญจากต่างประเทศที่ได้รับใบอนุญาตประกอบวิชาชีพในประเทศของตน สภาจะออกใบอนุญาตชั่วคราวให้ไม่เกิน 1 ปี
ข้อกำหนดจริยธรรมวิชาชีพ
หมวดที่ 1 หลักทั่วไป
หมวดที่ 2 การประกอบวิชาชีพและการผดุงครรภ์
หมวดที่ 3 การโฆษณาการประกอบวิชาชีพ
หมวดที่ 4 ปกิณกะ
กระบวนการพิจารณาความผิดของผู้ประพฤติผิดจริยธรรม
2.กรรมการสภากล่าวโทษ ต่อสภาการพยาบาล
3.อายุความการกล่าวหา กล่าวโทษ
มีกำหนด 3 ปี นักบตั้งแต่วันเกิดเหตุ และมีกำหนด 1 ปี นับตั้งแต่วันรู้ผู้กระทำความผิด
ประเด็นที่ 1 เกิดเหตุวันที่ 1 มกราคม 2541 รู้ตัวผู้ทำผิด 1 มกราคม 2542 ดังนี้นอายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2542
ประเด็นที่ 2 เหตุเกิดวันที่ 1 มกราคม 2541 รู้ตัวผู้ทำผิด 10 มกราคม 2541 ดังนั้นอายุความจะมีอยู่ถึงวันที่ 9 มกราคม 2542
ประเด็นที่ 3 เหตุเกิดวันที่ 1 มกราคม 2541 รู้ตัวผู้ทำผิด 1 พฤศจิกายน 2543 อายุความจะมีอยู่ถึง 31 ธันวาคม 2543
1.ผู้เสียหาย กล่าวต่อสภาการพยาบาล
4.สภาส่งเรื่องให้อนุกรรมการจริยธรรมพิจารณาเมื่อำด้ข้อส่งคณะกรรมการสภาพิจารณาตัดสินว่าคดีมีมูล
5.สภาส่งเรื่องคณะอนุกรรมการสบชอบสวนพิจารณา เมื่อำด้ข้อมูลส่งคณะกรรมการสภาตัดสิน
6.คณะกรรมการสภาตัดสิน
อนุกรรมาการจริยธรรม มีหน้าที่ในการเก็บรวบรวมข้อมูล พยานหลักฐานข้อเท็จจริงว่าคดีมีมูลหรือไม่ แล้วนำหลักฐานพร้อมแสดงความคิดเห็นส่งให้คณะกรรมการสภาตัดสิน
การพิจารณาสอบสวน
โดยบุคคลเหล่านี้น
ผู้รู้เห็นเหตุการณ์
ผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผู้มีเหตุโกรธเคืองกับผู้กล่าวหา
คู่สมรส
การคัดค้านตั้งอนุกรรมสอบสวน ต่อยื่นต่อคณะกรรมการภายใน 7 วัน นับตั้งวันทราบคำสั่ง
การลงมติของคณะกรรมการสภา ในการพิจารณาคดีจะทำเป็นคำสั่งให้นายกสภาลงนามคำสั่งถือเป็นที่สุด คือ อุธรณ์ไม่ได้
เมื่อผู้ประกอบวิชาชีพ รับทราบคำสั่งลงโทษ ถ้าเป็นการพักใช้ต้องหยุดประกอบวิชาชีพทันที การครบกำหนดตั้งแต่วันรับทรายคำสั่งพักใช้หรือเพิกถอนใบอนุญาต การเพิกถอนใบอนุญาตต้องถูกส่งคืนใบอนุญาตภายใน 15 วัน
มาตรา 43 ภายใต้มาตรา 27 บุคคลที่ได้รับคำสัง่พักใช้ หรือเพิกถอนต้องหยุดประกอบวิชชีพ หากเพียงแค่แสดงด้วยวิธีการใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนมีสิทธิประกอบวิชาชีพ โโยที่ยังไม่ได้ประกอบวิชาชีพ ถือเป็นการละเมิด
สถานที่ที่กำหนดกฎหมาย
1.สถานที่ที่ประกอบการที่มใีผู้ประกอบวิชาชีพ การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์ปฏิบัติงานอยู่
2.สถานที่มีเหตุสมควรเชื่อว่ามีการประกอบวิชาชีพพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
3.สถนาที่สอบสวนหรือเชื่อว่าทำการสอนการพยาบาล การผดุงครรภ์ หรือการพยาบาลและการผดุงครรภ์
บทกำหนดโทษ
โทษทางอาญา
1.ประกอบวิชาชีพโดยไม่มีใบอนุญาต จำคุกไม่เกิน 2 ปี และ/หรือปรับไม่เกิน 20000 บาท
2.บุคคลที่พ้นจากสมาชิกสามัญ
3.ต้องพ้นจาการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพด้วยและต้องสืบค้นใบอนุญาตต่อเลขาธิการภายใน 15 วัน ฝ่าฝืนปรับไใ่เกิน 1000 บาท
4.การไม่มาให้ถ้อยคำหรือส่งเอกสาร ต้องจำคุกไม่เกิน 1 เดือนหรือปรับไม่เกิน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับ
5.ผู้ไม่อำนวยความสะดวกแก่เจ้าพนักงาน ระวางโทษไม่เกิน 1 เดือน หรือปรับไม่เกืน 1000 บาท หรือทั้งจำทั้งปรับทางวิชาชีพ ประกอบด้วย ว่ากล่าวตักเตือน ภาคทัณฑ์ พักใช้ เพิกถอน
ตามมาตรา 43 กำหนดว่า การแสดงด้วยวิธีใดๆให้ผู้อื่นเข้าใจว่าตนเป็ฯผู้ประกอบวิชาชีพ ดังนั้นระหว่างพักใช้ ไม่สามารถแต่ชุดพยาบาลในหอผู้ป่วยได้ นอกจากนี้หากระหว่างถูกพักใช้ไปปฏิบัติและถูกคำสั่งพิพากษาจำคุกด้วยกรณีอื่น เช่นให้การพยาบาลโดยประมาท
บทเฉพาะการเพิ่มเติม (พระราชบัญญัติวิชาชีพ 2540)
1.ให้กรรมการทุกประเภทตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ 2528 ดำรงอยู่จนครบวาระ
2.ใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบโรคศิลปะแผนปัจจุบันในสาขาพยาบาล การผดุงครรภ์ และสาขาการพยาบาลและการผดุงครรภ์ หรือใบอนุญาตที่ออกตามพระราชบัญญัติวิชาชีพ 2528 มีอายุต่อไปอีก 5 ปีนับตั้งแต่วันที่กฎหมายบังคับใช้
3.ผู้ที่ไ่เข้าเกณฑ์ตามข้อ 2 แต่สำเร็จการศึกษาในหลักสูตรไม่น้อยกว่า 3 ปีหรือประกาศนียบัตรเทียบเท่าอนุปริญญาในสาขาการพยาบาล การผดุงครรภ์ และการพยาบาลและการผดุงครรภ์จากสถาบันการศึกษามนประเทศไทย ก่อนพระาชบัญญัติวิชาชีพ 2540 บังคับใช้ เมื่อสภาการพยาบาลตรวจสอบหลักสูตรแลผ่านการสอบความรุ้แล้วมีสิทธิขึ้นทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็นผู้ประกอบิวชาชีพ
4.ยกเลิกค่าธรรมเนียมเก่าและใช้อัตราค่าธรรมเนียบใหม่ท้ายพระราชบุญญัตนี้แทน
5.รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขรักษาการณ์ตามพระราชบัญญัตินี้
4.5พระราบัญญิตวิชาชีพพยาบาล
กฎหมายวิชาชีพ เป็นเกณฑ์สากลข้อหนึ่งของวิชาขีพ มีความจำเป็นต่อทุกวิชาชีพ เพราะอาศัยหลักเกณฑ์ของกฎหมายควบคุมสมาชิกผู้ประกอบวิชาชีพให้ปฏิบัติตามมาตราฐาน
เกณฑ์สากลของวิชาชีพ
อาชีพนั้นมีความจำเป็นต่อสังคม
มีศาสตร์เฉพาะสาขาของตน และมีการอบรมในระบบวิชาชีพที่ยาวนนพอสมควร ถึงขั้นอุดมศึกษา
สามารถให้ยริการกับผู้รับบริการได้มาตราฐานและตามบรรทัดฐานของวิชาชีพนั้น
มีจรรยาบรรณในการประกอบวิชาชีพ เพื่อป้องกันผู้รับบริการ
มีเอกสิทธิ์ในการทำงาน
มีองค์กรวิชาขีพ ทำหน้าที่ควบคุมสมาชิกของวิชาชีพ รวมทั้งการผลักดันในทางกฎหมาย เพื่อคุ้มครองสมาชิก และผู้รับบริการ
การพยาบาล เป็นการกระทำต่อมนุษย์เกี่ยวกับการดูแลและการช่วยเหลือเมื่อเจ็ยป่วย การฟื้นฟู การป้องกัน การส่งเสริมสุขภาพ รวมทั้งการช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
การผดุงครรภ์ การกระทำที่เกี่ยวกับการดูแลและช่วยเหลือหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอด และทารกแรกเกิด รวมถึงการตรวจ การทำคลอด
การประกอบวิชาชีพพยาบาล
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเี่ยวกับสุขภาพ
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของบุคคล รวมทั้งการจัดสภาพแวดล้อมเพื่อแก้ไขปัญหารการเจ็บป่วย การบรรเทาอาการของโรค
การกระทำตามวิธีที่กำหนดไว้ในการรักษาเบื้องต้นและการให้ภูมิคุ้มกันโรค
การช่วยเหลือแพทยย์กระทำการโรค
โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์และศิลปะศาสตร์การพยาบาลในการประเมินสภาพ การวินิจฉัยสภาพ การวางแผน การปฏิบัติการ การประเมินผล
การประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์
การสอน การแนะนำ การให้คำปรึกษาและแก้ไขปัญหาเกี่ยวกับสุขภาพอนามัย
การกระทำต่อร่างกายและจิตใจของหญิงมีครรภ์ หญิงหลังคลอดและทารกแรกเกิด เพื่อป้องกันการผิดปกติในระยะตั้งครรภ์ ระยะคลอด ระยะหลังคลอด
การตรวจ การคลอด การวางแผนครอบครัว
การช่วยเหลือแพทย์กระทำการรักษาโรค
โดยอาศัยหลักวิทยาศาสตร์ และศิลปะการผดุงครรภ์ในการประเมินสภาพ การพยาบาล วินิจฉัยปัญหา การวางแผน การปฏิบัติการพยาบาล และการประเมินผล
กำหนดให้มีสภาการพยาบาล ฐานะของสภาการพยาบาล มาตรา6
1.เป็นนิติบุคคลตามกฎหมายแพ่ง และพาณิชย์
1.เป็นบุคคลสมมติตามกฎหมาย มีสภาพเหมือนบุคคลทัวไป ยกเว้น สิทธิที่บุคคลจริงจะมีได้
2.นิติบุคคลทำความผิด ผู้แทนของนิติบุคคลร่วมรับความผิดในฐานะตัวการ และนิติบุคคลนี้ต้องถูกฟ้องล้มละลายได้
2.การตั้งขึ้นตามกฎหมายเฉพาะ ทำให้ไม่สามารถถูกฟ้องล้มละลาย และไม่สามารถเลิกกิจการเหมือนเช่นนิติบุคคลทั่วไป
วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล(มาตรา 7) อำนาจและหน้าที่ของสภาการพยาบาล(มาตรา 8) รายได้ของสภาการพยาบาล (มาตรา 9)
1.งบประมาณแผ่นดิน
2.ค่าจดทะเบียนสมาชิกสามัญ
3.จาการหารายได้ของสามาชิกกการพยาบาล โดยใช้วัตถุประสงค์ของสภาการพยาบาล
4.รายได้จากเงินบริจาค รวมทั้งดอกผลของรายได้ต่างๆ
สมาชิกและสิทธิหน้าที่ตามกฎหมาย หมวด 2 มาตรา 11-13
ประเภทของสมาชิก
1.สมาชิกสามัญ
2.สมาชิกกิตติมาศักดิ์
เป็นทรงคุณวุฒิที่สภาพยาบาลเห็นสมควรเชิยให้เป็ฯสมาชิกกิตติมาศักดิ์
จำนวนอายุ การเป็ฯผู้ประกอบวิชาชีพกฎหมายไม่ได้กำหนด
สามชิกและหน้าที่(มาตรา 12) การพ้นจากสภาพสมาชิกสามัญ (มาตรา 13)
ลาออก
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา
ตาย
โรคต้องห้ามตามข้อบังคับของสภาการพยาบาล
โรคจิต โรคประสาท
การติดยาเสพติดให้โทษอย่างร้ายแรง ติดสุราเรื้อรัง
โรคในระยะปรากฎอาการเป็ฯที่น่ารังเกียจต่อสังคม หรือเป็นอุปสรรคต่อการประกอบวิชาชีพ
การขึ้นทะเบียนการประกอบวิชาชีพ
สำเร็จในประเทศ คนสัญชาติไทยและไม่ใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพายาบาลตามกำหนด
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
สำเร็จในต่างประเทศ
คนสัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำหนด
ไม่ต้องสอบใบอนุญาตในประเทศที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
ไม่ใช่สัญชาติไทย
สำเร็จการศึกษาพยาบาลตามที่กำนหด
ต้องสอบใบอนุญาตตามที่ตนจบ
สมัครเป็นสมาชิกสามัญ
สอบขึ้นทะเบียน
มีภูมิลำเนาอยู่ในประเทศ 6 เดือน นับถึงวันสอบสมัครสอบวันสุดท้าย
เกณฑ์สำหรับผู้ที่ไม่ขึ้นทะเบียนทันทีหลังสำเร็จการศึกษา
1.สำเร็จก่อนและหลัง 6 กันยายน 2528
กรณีปฏิบัติงานในโรงพยาบาลของรัฐ ครบ 2 ปี สมัครเป็ฯสมาชิกสามัญและขอขึ้นทะเบียนทันทีไม่ต้องขอสอบ
กรณีปฏิบัติงานในสถานพยาบาลเอกชน ไม่ต่องผ่านการฝึกอบรมทางวิชาการตามที่สภากำหนด
2.หลัง 24 ธันวาคม 2540
ประเภทขอใบอนุญาต
1.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาล ชั้น 1 และ 2
2.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการผดุงครรภ์ชั้น 1 และ 2
3.ใบอนุญาตประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์ ชั้น 1 และ 2
การพ้นจากการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
เงื่อนไข
ถูกเพิกถอนใบอนุญาต
ใบอนุญาตหมดอายุ
พ้นจากการเป็นสมาชิกสามัญ
คณะกรรมการสภาการพยาบาล ประเภทของคณะกรรมการ
กรรมการสภาจากการเลือกตั้ง จำนวน 16 คน
กรรมการสาภจากการแต่งตั้ง จำนวน 16 คน
กรรมการที่ปรึกษา จำนวนไม่เกิน 1 ใน 4 ของกรรมการ
คณะกรรมการสภาพการพยาบาล
1.นายกสมาคมพยาบาลแห่งประเทศไทย เป็นกรรมการสภาโดยตำแหน่ง
2.ตัวแทนจากกระทรวจสาธารณสุขมีสัดส่วนมากที่สุด กรรมการสภาที่มาจากปลัดกระทรวงสาธารณสุขไม่ต้องประกอบวิชาชีพพพยาบาล
3.ถ้านายกสภาเลือกเลขาธิการสภาจากสมาชิกสามัญ กรรมการจะมีจำนวน 33 คน
4.การเลือกตั้งนายกสภา เป็นการเลือกตั้งทางอ้อม
5.กรรมการสภา การเลือกคณะผู้บริหาร รองเลขาธิการสภา ประชาสัมพันธ์ เหรัญญิก
7.วาระของกรรมการ 4 ปี ตามวาระที่มของกรรมการว่างแต่งตั้ง หรือเลือกตั้งแต่เลขาธิการสภา สิ้นสุดตามวาระของกรรมการเลือกตั้ง
8.นายากสภาถอดถอนเลขาธิการได้
กรรมการพ้นจากตำปหน่งก่อนวาระได้ในกรณีต่อไปนี้
ขาดคุณสมบัติตามมาตรา 13 ได้แก่ ตาย ลาออก ขาดคุณสมบัติมาตรา 11
2.คุณสมบัติมาตรา 18
ไม่เป็นผู้ประกอบวิชาชีพ
ไม่เคยถูกสั่งพักใช้ใบอนุญาตหรือเพิกถอนใบอนุญาต
ไม่เคยเป็นบุคคลล้มละลาย
ลาออก
การเลือกตั้งกรรมการแทนตำแหน่งที่ว่างลง
กรรมการว่างลง หนึ่งในสองหรือน้อยกว่าของกรรมการจากการเลือกตั้ง มากกว่าหรือเท่ากับ 8 เลือกสมาชิกสามัญขึ้นแทน
มากกว่าหนึ่งในสอง 16 คือ มากว่า 8 คนตั้งจัดให้สมาชิกสามัญเลือกตั้งกรรมการขึ้นแทนภายใน 90 วัน
ถ้าอายุกรรมการเหลือต่ำกว่า 90 วันให้รอเลือกตั้งใหญ่พร้อมกัน
หน้าที่กรรมการบริหารสภาการพยาบาล
นายก
ดำเนินกิจการของสภาพยาบาล
เป็นผู้แทนสภาในกิจการต่างๆ
เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเลขาธิการ
เลขาธิการสภา
ควบคุมรับผิดชอบงานธุรการทั่วไป
ควบคุมบังคับบัญชาเจ้าหน้าที่สภา
รับชอบในการดูแลทะเบียนต่างๆ
ควบคุมทรัพย์สินของสภา
เป็นเลชานุการคณะกรรมการ
สภานายกพิเศษ
รักษาการตามพระราชบัญญัติ มาตรา 5
แต่งตั้งพนักงานเจ้าหน้าที่
ออกกฎกระทรวงและกำหนดค่าธรรมเนียบต่างๆ มาตรา 5
ให้ความเห็นชอบมติของคณะกรรมการในเรื่อง
การดำเนินการของคณะกรรมการสภา
ประชุมของคณะกรรมการสภาการพยาบาล
เรื่องทั่วไป กรรมการอย่างน้อย เท่ากับ 16 คน
เรื่องสำคัญ ที่ใช้กรรมการเต็มคณะ
การให้สมาชิกพ้นจากสภาพสมาชิก เพราะขาดคุณสมบัติมาตรา 11
พิจารณาทบทวนการลงมติ ในเรื่องที่สภานายกพิษเศษยับยั้งมติสภาการพยาบาล
การลงมติ กรรมการ 1 คม มี 1 เสียง
เรื่องทั่วไป ดูเสียงข้างมาก
เรื่องสำคัญ คะแนนเห็นชอบ จะต้องมี 2 ใน 3 ของจำนวนกรรมการทั้งคณะ คือไม่ต่ำกว่า 22 เสียง
การขอความเห็นชอบจากสภานายกพิเศษ
สภานายกพิเศษเห็นด้วย
อาจมีคำสั่งเห็นชอบ หรือไม่แทงคำสั่งใดๆใน 15 วัน ถือว่าเห็นชอบ
นายกสภาไม่เห็นชอบด้วย
แทงคำสั่งไม่เห็นชอบ ต้องภายใน 15 วัน
การลงมติแย้งสภานายกพิเศษ ต้องภายใน 30 วัน ใช้กรรมการสภาเต็มคณะ ลงมติด้วยเสียง 2/3
การพ้นจากตำแหน่งของกรรมการที่ปรึกษา
กรรมการที่ปรึกษาจากกรรมการชุดใดพ้นจากตำแหน่งตามวาระกรรมการชุดนั้น
นางสาวลักษณารีย์ วัดแย้ม 36/2 เลขที่ 21 612001101