Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคระบบทางเดินหายใจ, :, นางสาว อรัญญา แจ่มดวง ห้อง 1A เลขที่ 81…
โรคระบบทางเดินหายใจ
โรคของปอด
ถุงลมแฟบ(Atelectasis)
ปอดแฟ่บขยายตัวไม่เต็มที่ ถ้าเกิดกับเนื้อปอดปริมาณมากจะทำให้ขาดออกซิเจน ทำให้ติดเชื้อง่ายเนื่องจากการอุดกั้นทางเดินหายใจเช่น เสมหะ สิ่งแปลกปลอม
ปอดบวมน้ำ (Pulmonary edema)
ภาวะที่มีการคั่งของสารน้ำในถุงลมของเนื้อผอด ทำให้ไม่สามารถที่แลกเปลี่ยนก๊าซได้ปกติเกิดภาวะการหายใจล้มเหลว
สาเหตุ
หัวใจซีกซ้ายล้มเหลง(ปอดบวมน้ำเหตุอื่นซึ่งไม่ใช่หัวใจ) เกิดการบาดเจ็บต่อเนื้อปิดหรือระบบหลอดเลือดของปอด(ปอดบวมน้ำเหตุอื่นไม่ใช่หัวใจ)
ถุงลมโป่งพอง
ปกติแล้ว พท.ในปอดจะมีถุงลมเล็กๆกระจายอยู่เต็มทั่วปอดเพื่อทำหน้าที่รับออกซิเจนเข้าสู่ร่างกาย เป็นโรคที่เนื้อปอดค่อยๆเสื่อมามรรถภาพตากการได้รับควันบุหรี่
สารไรโตรเจนไดออกไซด์ใรควันบุหรี่ทำลายเนื้อเยื่อในปอด เกิดโรคถุงลมโป่งพอง ทำให้พท.ผิวเนื้อเยื่่อภายในปอดซึ่งเป็นที่รับออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายมีขนาดเล็กลง จึงต้องหายใจเร็วขึ้นเพื่อให้ออกซิเจนเข้าสู่ร่างกายเพียงพอ
หลอดลมอักเสบเรื้อรัง(Chronic Bronchitis)
เกิดจากการติดเชื้อเรื้อรัง มีmucous secreting gland จำนวนมากขึ้น
มีการหลั่งเสมหะออกมามากกว่าปกติเป็นสาเหตุให้หลอดลมมีลักษณะตีบแคบลง
ทั่วไปวินิจฉัยผู้ป่วยว่าเป็นหลอดลมอักเสบเรื้อรังต่อเมื่อผู้ป่วยมีอาการไอเสมหะติดต่อกันทุกวันนานกว่า 6 เดือนขึ้นไปติดต่อสองปี
หอบหืด(Bronchial Asthma)
มีการตอบสนองต่อสิ่งที่มากระตุ้นมากเกินไปทำให้มีการหดเกร็งของหลอดลมมีเสมหะเพิ่มขึ้น มีอาการหายใจลำบาก ได้ยินเสียงวี้ด
(Weezing and severe dyspnea)อาการเหล่านี้หายได้เองหรือได้รับยาขยายหลอดลม
สาเหตุ มีสองชนิด
1.Extrinsic Asthma เกิดจากแก้สารภายนอก เช่น ฝุ่นละออง antigen เหล่านี้จะกระตุ้นให้มีการสร้างIgE มาเกาะ Mast cell เมื่อ Mast cell จะหลั่งสารเคมีออกมาทำให้หลอดลมบวม และมี Secretion
2.Intrinsic asthma เกิดองค์ประกอบที่เป็นสาเหตุอยู่ภายในร่างกายปริมาณ IgE มักเกิดการติดเชื้อของทางเดินหายใจหรือสาเหตุอื่นๆเช่น ออกกำลังกาย สูบบุหรี่
การหอบหืด หลอดลมจะมีขนาดตีบลงเนื่องจาก
1.มีการหดตัวของกล้ามเนื้อเรียบทางหลอดลมในระยะแรกการหดตัวจะเกิดในส่วนของหลอดลมใหญ่ก่อน ถ้านานๆและรุนแรงจะมีการกดตัวส่วนของหลอดลมเล็ก
2.เยื่อบุหลอดลมจะหนาขึ้นกว่าปกติ เนื่องจากมี inflammatory cell
3.มีเสมหะเป็นมูกเหนียว
หลอดลมโป่งพอง (Bronchiectasis)
ภาวะที่หลอดลมขนาดเล็กเกิดการพองตัวอย่างถาวร พบในคนทุกวัย
พบมาใน 20-40 ปี
สาเหตุ 1.เกิดการติดเชื้อของปอดเช่น ปอดอักเสบ วัณโรค ไอกรน
2.การอุดกั้นของหลอดลมเช่น สิ่งแปลกปลอมอยู่ในหลอดลม มีก้อนเนื้องอกมะเร็งมากดหลอดลม
มีไอเรื้อรัง เสมหะเป็นหนองจำนวนมาก มักได้ยินเสียง
crepitation และเสียง rhonchi
ภาวะนิ้วปุ้มหรือนิ้วกระบอง
เป็นการเปลี่ยนแปลงรูปแบบการเจริญเติบโตและสร้างเนื้อเยื่อเล็บ(อาจรวมถึงกระดูกและข้อของนิ้วในบริเวณนั้นจากร่างกายมีสาร vascular Endothelial Growth Factor(VEGF)) เพิ่มมากกว่าปกติ
ทำให้หลอดเลือดผอยส่วนปลายของร่างกายเกิดการขยายตัวทำให้ปลายนิ้วพองขยายออกดูเหมือนกระบอง
ปอดอักเสบ(Pneumonia)
การอักเสบของเนื้อปอดมีการบวมหนองขัง เกิดอาการหายใจหอบเหนื่อย สาเหตุจากเชื้อไวรัส แบคทีเรีย เชื้อรา
Lobar pneumonia เป็นปอดบวมที่ปอดกลีบใดกลีบหนึ่งมักเกิดจากเชื้อ Pneumococi
Bronchopneumonia เป็นรอบๆหลอดลมส่วนปลายและกระจายไปมากกว่ากลีบใดกลีบนึง
สาเหตุ 1.เชื้อไวรัส พบมากกว่าร้อยละ 42เชื้อไวรัสที่ทำให้เกิดโรคได้แก่ เรสไปราทอรี ซินไซเทียไวรัส พาราอินฟลูเอนซา อินฟลูเอนซา และอะดีโนไวรัส โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เรสไปราทอรีและซินไซเทียไวรัสมักเกิดมากในเด็กอายุต่ำกว่า1ปีสูงถึงร้อยละ90
2.เชื้อแบคทีเรีย ร้อยละ 60 โดยเฉพาะเด็กอายุน้อยกว่า 3 เดือน ส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Streptococcus pneuminiae และเชื้อ enteric bacilli
เด็กอายุ 3 เดือนถึง 5 ปีส่วนใหญ่เกิดจากเชื้อ Streptococcus pneumoniae และเชื้อ Haemophilus influenza
3.ปอดบวมจากการสำลัก(aspirated pneumonia)เกิดจากการสำลักอาหารหรือสิ่งแปลกปลอมเข้าไปในปอด 4.ปิดบวมจากสาเหตุอื่น เช่นผู็ป่วยที่ได้รับการรักษาด้วยรังสีจนทำให้เกิดอาการปอดบวมจากรังสี
วัณโรคปอด(Pulmonary Tuberculosis)
เกิดจากการ Mycobacterium tuberculosis ซึ่งเป็น acid fast bacilli เชื้อในเสมหะกระจายโดยการหายใจ
สามารถเกิดพยาธิสภาพกับอวัยวะทุกแห่งของร่รางกาย
Primary Pulmonary Tuberculosis เกิดในรายที่รับเชื้อครั้งแรก ต่อมน้ำเหลืองที่ขั้วปอดจะเกิดโรคด้วยทำให้ต่อมน้ำเหลืองโต ตำแหน่งที่เชื้อเข้าไปที่แรกมักเป็นบริเวณเนื้อปอด เมื่อเชื้อเข้าไปจะถูกจับกินโดย aveolar macrophage แต่ถ้าเชื้อไม่ตายและเพิ่มจำนวนทำให้มีการอักเสบเฉียบพลัน จะมีmacrophage เข้าทำปฏิกิริยารวมกลุ่มเกิดเป็น Tubercle เรียกรอยโรคที่เนื้อปอดนี้ว่า Primary focus or Ghon focus ถ้าบริเวณเนื้อตายมีขนาดเล็กถูกกำจัดโดย macrophage รอบๆ และแทนที่ด้วย fibrous tissue
post Primary Pulmonary Tuberculosis
เกิดโรคหลังจากได้รับเชื้อาก่อนส่วนใหญ่จะเกิดจากเชื้อที่สงบอยู่ในอวัยวะต่างๆจากการแพร่กระจายครั้งแรก เกิดการแบ่งตัวเพิ่ม
รอยโรคที่เนื้อปอดมักเป็นบริเวณ apex หรือ subapical ของปอดกลีบบนเนื่องจากบริเวณนี้มีความดันออกซิเจนสูง ลักษณะรอยโรคเป็น tubercle และ caseation
เยื่อหุ้มปอด(Pleura)
เป็นเยื่อบางและละเอียดอ่อน เปียกชื้นและเป็นมันลื่น หุ้มผิวภายนอกของปอด เยื่อหุ้มปอดซึ่งมี2ชั้น ระหว่าง2ชั้นมีของเหลวอยู่เล็กน้อย เพื่อลดแรงเสียดสี
น้ำในเยื่อหุ้มปอด(Pleural effusion)เป็นการสะสมของเหลวระหว่างชั้นของเยื่อหุ้มปอดภายในช่องอก มีสองประเภท 1.น้ำในเยื่อหุ้มปิดที่เป็นของเหลวใส มีสาเหตุจากหัวใจล้มเหลว ไตวาย ตับแข็ง
2.น้ำในเยื่อหุ้มปอดที่เป็นของเหลวขุ่น มักเกิดจากการอักเสบเช่น การติดเชื้อในปอด วัณโรค มะเร็งปอด
ลมในเยื่อหุ้มปอด(Pneumothorax) open pneumothorax ภาวะลมคั่งในช่องเยื่อหุ้มปอดชนิดที่มีบาดแผลเป็นแบบ sucking chest wound ทำให้ช่องเยื่อหุ้มปอดติดต่อโดยตรงกับอากาศภายนอก ถ้าขนาดรูบาดแผลใหญ่เป็น 2 ใน 3 ของขนาดหลอดลมผู้ป่วยจะมีอาการขาดออกซิเจน ขณะหายใจเข้าอากาศจากภายนอกจะไหลผ่านเข้าสู่ช่องเนื้อเยื่อหุ้มปอดทางบาดแผล ตามแรงดันลบของเยื่อหุ้มปอด ขณะหายใจออกจะมีอากาศถูกดันออกจากช่องเยื่อหุ้มปอดเพียงเล็กน้อย ทำให้มีอากาศค้างเพิ่มมากขึ้น ในช่อวเยื่อหุ้มปอดไปกดปอดด้านที่มีพยาธิสภาพให้แฟบ ลมเข้าได้และออกได้ ไม่มี mediastenal shift
Tension pneumothorax เกิดจากทีแผลฉีกขาดที่ผนังอกทะลุเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอดโดยบาดแผลมีลุกษณะเฉียงแฉลบหรือของแผลกระรุ่งกระริ่ง
ปากแผลทำหน้าที่คล้ายลิ้นหรือประตูที่เป็น one way valve ทำให้ปอดแฟบ mediastinum เคลื่อนไปด้านตรงข้ามเลือดดำไหลกลับลดลงและกดปอดด้านตรงข้าม เวลาหายใจเข้าลมจะผ่านแผลรั่วเข้าสู่ช่องเยื่อหุ้มปอดได้ เวลาหายใจออกแรงดันในช่องเยื่อหุ้มปอดจะลดลงจะทำให้ปากแผลที่ทำหน้าที่คล้ายลิ้นหรือมีละกษณะเฉียงเเฉลบนี้ปิดช่องเยื่อหุ้มหุ้มปอดลมออกสู่ภายนอก ลมเข้าได้แต่ออกไม่ได้ มี mediastenal shift
โรคจมูกอักเสบจากภูมิแพ้(allergic Rhinitis)
โรคที่มีความผิดปกติของระบบภูมิคุ้มกันอาการแสดงทางจมูก
เกิดหลังรับสารก่อภูมิแพ้ เกิดอักเสบทางสมูก
เกิดอาการคัน น้ำมูกไหล คัดจมูกเป็น้อยถึงมาก
พบ Eosinophil ในเลือดสูง
พบ Eosinophil ในน้ำมูกมากกว่าร้อยละ 30 ของเม็ดเลือดขาว
พบ Mast cell และ Basophil > คนปกติ
ไซนัสอักเสบ (Sinusitis)
โพรงอากาศข้างจมูก
หน้าที่ = ลมหายใจอุ่นชื้น ช่วยกรองอากากาศในจมูก ช่วยเสียงพูดมีความก้อง
เป็นการอักเสบของโพรงอากาศจมูก แบ่งชนิดเฉียบพลัน และเรื้อรัง
สาเหตุเกิดจากมีเชื้อโรคเข้าไปทำให้เยื่อบุอักเสบ ซึ่งอาจเป็นเชื้อแบคทีเรีย ไวรัส หรือเชื้อรา
รูเปิด sinus ขนาดเล็กลง เมื่อมีการอักเสบ จึงอาจตีบตันได้ง่าย
exudate มักขังอยู่ภายใน เป็นหนองเรียก empyema เป็น mucous เรียก mucocle
สาเหตุ
1.upper respiratory tract infection โรคการติดเชื้อของระบบทางเดินหายใจตอนบน
ระยะแระเกิดจากไวรัส ทำให้เยื่อบุอักเสบอาจเข้าไปถึงไซนัสได้ถ้าต่อเนื่อง
ถ้าติดเชื้อรุนแรง = ทำลายเยื่อบุจมูกและเยื่อบุไซนัส ทำให้บวมและมีผังผืด เกิดการอุดตันของรูเปิดระหว่างไซนัสกับจมูก ทำให้อักเสบเรื้อรังได้
2.การติดเชื้อของฟัน
โดยเฉพาะฟันกราม พบร้อยละ 10 Maxillary sinus จากฟันผุ บางรายแสดงอาการชัดเจนภายหลังถอนฟันออกไปแล้วเกิดรูทะลุระหว่าง Maxillary sinus และเหงือกขึ้น
3.โรคติดเชื้ออื่นเช่นไข้หวัดใหญ่ โรคหัด โรคไอกรน
4.การว่ายน้ำ ดำน้ำ เกิดการสำลัก อาจมีเชื้อโรคเข้าไปทำให้เกิดการอักเสบได้ สารคลอรีน ในสระว่ายน้ำเป็นสารเคมีทำให้เกิดการอักเสบของเยื่อบุไซนัสได้
5.การกระทบกระแทกอย่างแรงบริเวณใบหน้า ทำให้ไซนัสโพรงอันใดโพรงหนึ่งแตกหัก ซ้ำบวมหรือมีเลือดภายในโพรง ทำให้เกิดการอักเสบติดเชื้อได้
6.มีสิ่งแปลกปลอมในจมูก เช่น เมล็ดผลไม้ ก่อการอุดตันโพรงจมูก เป็นสาเหตุให้เกิดการติดเชื้อทั้งในโพรงจมูกและไซนัส
ไข้หวัด (common cold)
-ติดเชื้อของจมูกและคอ เรียก upper respiratory tract infection
-URI เกิดจากไวรัส ประกอบด้วย Rhino-viruses เป็นสำคัญ เชื้อชนิดอื่นๆมี Adenoviryse,Respiratory syncytial virus
เชื้อเข้าจมูก = เยื่อจมูกบวม หายเองภายใน 1 สัปดาห์
exudate เป็นน้ำมูกใส เรียก catarrhal inflammation
exudate ลักษณะข้นเป็นหนอง เรียก Purulent inflammation
กล่องเสียงอักเสบ (Laryngitis)
ภาวะเกิดจากการอักเสบของกล่องเสียง ก่อให้เกิดความเจ็บปวด เสียงเปลี่ยนไป
สาเหตุที่พบบ่อยเกิดจาก
1.ติดเชื้อไวรัส
2.โรคภูมิแพ้
3.รับสารเคมี เช่นควันบุหรี่
4.ใช้เสียงมากเกินไป เช่นร้องเพลง ตะโกนเป็นเวลาติดต่อเป็นเวลานาน
5.เกิดกรดไหลย้อนในกระเพาะอาหาร
บางกรณีอาจเกิดอันตราย เช่น
Laryngoepiglottitis พบในเด็กน้อย
เกิดจากการติดเชื้อHemophilus influenza
เยื่อบุ Epiglottis และ vocal cord อาจบวมมากจนหายใจไม่ออก
croup หรือ Laryngotracheobronchitis มักพบในเด็ก เกิดจากเชื้อไรรัส เวลาหานใจมีเสียงดังเรียก Stridor
หายใจเสียงดังครุ๊ปขณะหานใจเข้าเกิดจาก upper airway obstruction
Laryngeal polyp
ตุ่มนูนยื่นขึ้นมาจากผิวของ vocal cord เกิดจากการระคายเคือวเรื้อรัง ทำให้เสียงแหบ
ระบบหายใจ
กระบวนการนำออกซิเจนจากบรรยากาศภายนอกเข้าสู่ถุงลมปอด
การหายใจเข้า ออกซิเจน จะแพร่ผ่านผนังถุงลมเข้าสู่หลอกเลือดฝอยที่ปอด และคาร์บอนไดออกไซด์จากหลอดเลือดฝอยที่ปอดจะแพร่เข้าสู่ถุงลมและกลับสู่บรรยากาศภายนอกพร้อมกานหายใจ
ออกซิเจนถูกขนส่งไปยังเซลล์ต่างๆทั่วร่างกาย โดยจับกับโปรตีนฮีโมโกลบินในเม็ดเลือดแดง ซึ่งจะแพร่เข้าสู่เซลล์ตามความต่างระดับความเข้มข้นและถูกนำไปใช้ในขบวนการเผาผลาญสารอาหาร(metabolism)เพื่อสร้างพลังงานให้ร่างกาย
โรคริดสีดวงจมูก (Nasal polyp)
เกิดจากเยื่อบุจมูกอักเสบ บวมขึ้นเป็นก้อน
โรคที่ทำให้เกิดเป็นก้อนในจมูกมากที่สุด บางครั้งก้อนใหญ่จนออกมานอกจมูกมากที่สุดจนอ้าปากก็เห็น
ปัจจัยที่่ทำให้เกิด
1.ติดเชื้อที่จมูก 2.โรคภูมิแพ้ 3.ภาวะอื่นๆได้แก่ ความผิดปกติของ mucopolysaccharide เช่น cystic fibrosis การแพ้ยา เช่น aspirin การอุดตัน mechanical obstruction
คออักเสบ (Pharyngitis)
โรคพบบ่อยในระบบทางเดินหายใจ สาเหตุจากการติดเชื้อไวรัส หรือแบคทีเรีย
ต่อมามีเชื้อแบคทีเรียแทรกซ้อน ส่วนใหญ่ได้แก่ Beta Streptococus group A เยื่อบุ pharynx จะอักเสบมากขึ้นและถูกคลุมด้วย exudate
คออักเสบจากเชื้อ Beta Streptococus group A
ไม่มีน้ำมูกหรือไอน้ำตาไหล
มีไข้สูงเจ็บคอ ครั่นเนื้อครั่นตัว
ตรวจพบคอแดง ตาอมทอนซิลจะมีหนองลิ้นไก่บวม ต่อมน้ำเหลืองโต
หลอดคอ (Pharynx)
ยาวประมาณ 5 นิ้ว ติดต่อทั้งช่องปากและช่องจมูก
แบ่งเป็นหลอดคอจมูกส่วนบน กับหลอดส่วนปากโดยมีเพดานอ่อนเป็นตัวแยกสองส่วนนี้ออกจากกัน
หลอดลม (Trechea)
ส่วนที่ต่อจากหลอดเสียงยาวลงไปในทรวงอก
รูปร่างหลอดลมเป็นหลอดกลทๆ ช่องว่างระหว่างกระดูกอ่อนรูปตัว U
ปอด (ling)
มีสองข้างวางอยู่ในทรวงอก รูปร่างกรวย ระหว่างปอดสองข้าง พบวามีหัวใจอยู่ปอดขวาโตกว่าซ้าย
หน้าที่ของปอด
การนำก๊าซ CO2 ออกจากเลือดและนำออกซิเจนเข้าสู่เลือด
ปอดมีรูปร่างใหญ่มีลักษณะยืดหยุ่นคล้ายฟองน้ำ
การหายใจเข้า-ออก
โครงสร้างระบบหายใจ
ประกอบด้วย2 ส่วน
1.conducting division ตั้งแต่ nasal cavity,pharynx,larynx,trachea,bronchi,bronchiole,terminal bronchiole 2.Respiratory division ตั้งแต่ respiratory bronchiole,alveolar duct,alveolar sac,alveoli
หน้าที่ของ conducting division
1.เป็นทางเดินของอากาศ
2.ให้ความชื้นแก่อากาศที่ผ่านเข้าปอด
3.อุ่นอากาศที่จะผ่านเข้าสู่ปอด
4.ทำความสะอาดอากาศ
จมูก (nose)
ทำหน้าที่เป็นทางผ่านของอากาศที่หายใจเข้าไปยังช่องจมูกและกรองฝองฝุ่นละออง
หลอดเสียง (Larynx)
-หลอดยาว ผู้ชาย 4.5 ซม. ผู้หญิง 3.5 ซม.
-หลอดเสียงเจริญตามอายุ
-วัยหนุ่มสาว หลอดเสียงเจริญรวดเร็ว เฉพาะผู้ชาย เนื่องสาย vocal cord หนารวดเร็ว ทำให้เสียงเเตกพร่า จากฮอร์โมนเพศชาย
:
นางสาว อรัญญา แจ่มดวง ห้อง 1A
เลขที่ 81 รหัสนักศึกษา 623601083