Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การบำบัดหัตถการ เรื่องการช่วยเหลือผู้ป่วยที่อุดกั้นทางเดินหายใจ,…
การบำบัดหัตถการ
เรื่องการช่วยเหลือผู้ป่วยที่อุดกั้นทางเดินหายใจ
สาเหตุของอุบัติเหตุจากทางเดินหายใจอุดตัน
ความรู้เท่าไม่ถึงการณ์ ขาดความรู้
เช่น
ในเด็กมักนำสิ่งแปลกปลอมต่างๆ เข้าจมูก เข้าปาก เข้าหู โดยไม่ทราบอันตรายที่จะเกิดขึ้น
การขาดความระมัดระวัง
เช่น
รับประทานอาหารอย่างรวดเร็ว ทำให้เกิดติดคอ
การเคี้ยวอาหารไม่ละเอียด
เหตุสุดวิสัย
ทางเดินหายใจอุดตันได้เนื่องจากการที่แมลงเข้าไปในจมูก หรือในรูหู
เช่น
แมลงสาบเข้าหู เป็นต้น
ระดับความรุนแรงของการอุดกั้น
การอุดกั้นไม่รุนแรง
อาการและอาการแสดง
สามารถหายใจได้ มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ไอแรงๆได้
อาจได้ยินเสียงหายใจหวีด (wheeze) ระหว่างการไอ
การช่วยเหลือ
กระตุ้นให้ผู้ป่วยไอและพยายามหายใจด้วยตนเอง
สังเกต เฝ้าติดตามอาการผู้ป่วยอย่างใกล้ชิด
หากยังคงมีการอุดกั้นต่อเนื่องหรืออาการอุดกั้นมีความรุนแรงมากขึ้น ให้ขอความช่วยเหลือจาก ระบบการแพทย์ฉุกเฉินหรือโทร 1669
การอุดกั้นรุนแรง
อาการและอาการแสดง
ใช้มือกุมบริเวณลำคอ
พูดหรือร้องไม่มีเสียง
หายใจลำบาก ไม่มีการแลกเปลี่ยนก๊าซ
ไอเบาๆ หรือไม่สามารถไอได้
มีเสียงลมหายใจเข้าเพียงเล็กน้อยหรือไม่มีเสียง
หน้าเขียว ปากเขียว
การช่วยเหลือการอุดกั้นรุนแรง
วิธีที่ 1 การรัดกระตุกหน้าท้องในผู้ป่วยที่ยังรู้สติ ในท่ายืนหรือนั่ง ในเด็กโตและผู้ใหญ่
วิธีที่ 2 ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีผู้ป่วยหมดสติ ในเด็กโตและผู้ใหญ่
คือ
ตะโกนขอความช่วยเหลือ
จัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายบนพื้นราบ
เรื่มทำการกดหน้าอกนวดหัวใจทันที ต่อเนื่อง 30 ครั้ง
ทำการช่วยหายใจ โดยการจัดท่าเปิดปากผู้ป่วย มองหาสิ่งแปลกปลอมก่อนทำการช่วยหายใจ หากมองเห็นสิ่งแปลกปลอมในปากผู้ป่วยให้ใช้นิ้วกวาดสิ่งแปลกปลอมออกมา ทำต่อเนื่องเป็นรอบในอัตรา กดหน้าอก 30 นาที ช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำซำ้ประมาณ 5 รอบ หรือ 2 นาที จนกว่าความช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง หรือจนกว่าจะขจัดสิ่งแปลกปลอมออกมาได้
วิธีที่ 3 ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี ที่ยังรู้สติ แต่ไม่สามารถไอได้ ร้องไม่มีเสียง วิธีการช่วยเหลือขั้นตอนนี้เรียกว่า การตบหลัง 5 ครั้ง และการกดหน้าอก 5 ครั้ง
วิธีที่ 4 ขั้นตอนการช่วยเหลือกรณีเด็กทารกอายุน้อยกว่า 1 ปี ที่หมดสติ
ตะโกนขอความช่วยเหลือและจัดให้ผู้ป่วยอยู่ในท่านอนหงายบนพื้นราบ
เรื่มทำการกดหน้าอกนวดหัวใจทันที ต่อเนื่อง 30 ครั้ง
ทำการช่วยหายใจ โดยการจัดท่าเปิดปากผู้ป่วย มองหาสิ่งแปลกปลอมก่อนทำการช่วยหายใจ
ทำการกดหน้าอกนวดหัวใจและช่วยหายใจต่อเนื่อง เป็นรอบในอัตรา กดหน้าอก 30 นาที ช่วยหายใจ 2 ครั้ง ทำซำ้ประมาณ 5 รอบ หรือ 2 นาที จนกว่าความช่วยเหลือทางการแพทย์จะมาถึง หรือจนกว่าจะขจัดสิ่งแปลกปลอมออกมาได้
นางสาวพนิตนันท์ รัตนกุสุมภ์ เลขที่ 39