Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาล มารดาทารก, PPH >>Sheehan's syndrome - Coggle Diagram
การพยาบาล
มารดาทารก
1.แนวคิดและหลักการการพยาบาลมารดาทารก
ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อภาวะสุขภาพของมารดาและทารกในครรภ์
ปัจจัยด้านพันธุกรรม Genetic Factors
Trisomy 18 syndrome / Edward' s syndrome
Trisomy 13 syndrome / Patau syndrome
Trisomy 21 / Down ' s syndrome
Sex chomosome disorders
Klinefelter syndrome
Turner syndrome
47 XXY Syndrome
Triple syndrome/ 47XXX
สุขภาพทั่วไป
ปัญหาสุขภาพ
ก่อนตั้งครรภ์
ระยะตั้งครรภ์
ปัญหาสุขภาพด้านสูตินารีเวช
เชิงกรานและมดลูกผิดปกติ
ประวัติโรคติดเชื้อทางเพศสัมพันธ์
Gavida/Para
G1
G5
ประวัติภาวะแทรกซ้อนจากครรภ์ก่อน
น้ำหนัก
น้อยกว่าเกณฑ์
มากกว่าเกณฑ์
อายุ
น้อยกว่า 20
มากกว่า 35
ปัจจัยด้านยา
1.ฝิ่นและอนุพันธ์ฝิ่น
2.กัญชา
3.ยาบ้า
4.แอลกอฮอล์
5.โคเคน
6.บุหรี่
7.คาเฟอีน
อิทธิพลทางวัฒนธรรม ขนบธรรมเนียม ความเชื่อ
ปัจจัยด้านสิ่งแวดล้อม
4.ผลของยา 5 กลุ่ม
Cate A
Cate B
Cate C
Cate D
Cate X
5.ยาแก้แพ้ท้อง เช่น Thalidomind
3.สารตะกั่ว รง.แบตเตอรี่ >25 ug เจริญเติบโตไม่สมอายุ
6.Alkylting agents แท้งสูง /anomalies
2.สารปรอท ระบบประสาทถูกทำลาย นิ้วหงิกงอ ปญอ.
7.Hormons เช่น Progestin(D)
8.Lithium carbonate
9.Sulfonylureas(D)
10.Tranquizers เช่น Benzodiazepine (D) เกิด Facial clefts
1.เสียง > 85 เดซิเบล ทารกมี ปห.การได้ยิน
11.การฉายรังสี X-ray รับรังสี >25000 milliards สมองพิการ ผิดปกติระบบประสาท ตาย
ประเด็นและแนวโน้มในการพยาบาลมารดาทารก
สถิติชีพ
คำศัพท์
การเกิดไร้ชีพ still birth
การตายของทารกแรกเกิด Neonatal Death
Early Neonatal death แรกเกิด - 7 วัน
Late neonatal death หลัง 7 - 28 วัน
การเกิดมีชีพ Live birth
Infant death ตายภายใน 12 เดือนหลังคลอด
Birth การเกิด
วิธีการคำนวณ
อัตราตายของทารกต่ำกว่า 7 วัน
อัตราตายของเด็กต่ำกว่าอายุ 28 วัน หรืออัตราตายของเด็กแรกเกิด
อัตราตายก่อนและหลังคลอด
อัตราตายของทารกอายุ 28 วันแต่ต่ำกว่า 1 ปี
อัตราเด็กเกิดไร้ชีพ
ประเภท 1 GA > 28 wks หรือเรียก อัตราตายคลอด
ประเภท 2 GA 20 wks ขึ้นไป
อัตราตายของทารก
อัตราเด็กเกิดมีชีพ
อัตราส่วนการตายของมารดา
ข้อมูลที่ได้จากการบันทึกทะเบียนประวัติหรืรายงานสถิติของประชากร
แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับการอนามัยเจริญพันธ์
1.การให้คำปรึกษาก่อนสมรสและปัญหาทางพันธุกรรม
การเตรียมตัวและการให้คำปรึกษาก่อนสมรส
การให้คำปรึกษาปัญหาทางพันธุกรรม
2.การวางแผนครอบครัวและการให้คำแนะนำ
ความหมาย Family Planing
การคุมกำเนิด
ชั่วคราว
ถาวร
ไม่ใช้ฮอร์โมน
3.ห่วงอนามัย
4.ยาฆ่าอสุจิ
Barrier methods >> condom, diaphragm,Cervical cap
5.การทำหมัน
หญิง เปียก/แห้ง
ชาย ตัดท่อนำอสุจิ
Non appliance method
Rhythm or Safe period ระยะปลอกภัย
Coitus reservatus or witholding ฝายชายหลั่งควบคุมไม่หลั่ง
Coitus interruptus or Withdrawal หลั่งนอก
Abstinence งด SEX บางเวลา
ใช้ฮอร์โมน
ยาคุมชนิดห่วงสอด
ยาเม็ดคุมกำเนิด oral pill
ยาฉีดคุมกำเนิด
DMPA
NET-EN
ยาฝังคุมกำเนิด
ยาคุมแผ่นติดผิวหนัง Patch
ห่วงอนามัยชนิดมีฮอร์โมน LNG
การคุมกำเนิดในกลุ่มเป้าหมายพิเศษ 15 กลุ่่ม
ระยะเวลาในการวางแผน
การมีบุตรยาก Infertility
ปัจจัยการมีบุตรยาก ช/ญ/ร่วม
สาเหตุ ญ/ช
ปัจจัยที่มีผลต่อการตั้งครรภ์
การรักษา
ความหมาย
4.การปฏิสนธิและการเจริญเติบโตของทารกในครรภ์
5.ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเจริญเติบโตและพัฒนาการของทารกในครรภ์ 11 ปัจจัย
3.การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยา จิตสังคม และการพยาบาลในระยะตั้งครรภ์
1.การตั้งครรภ์
แบ่งไตรมาส
1-13 wks
14 - 26 wks
27 - 40 wks
2.การเปลี่ยนแปลงทางสรีรวิทยาระยะตั้งครรภ์
ระบบทางเดินหายใจ >> Physiological dyspnea
ระบบต่อมไร้ท่อ
Pituitary gland
Prolactin
Oxytocin
Thyroid H. เพิ่มขึ้นจนถึง GA 18 wks คงที่
Adrenal gland
Cortisal สูงจาก E สูง ทำให้กระตุ้นสร้าง Glucose
Aldosterone เพิ่มขึ้น
Placenta
1.Protien H.
HCG ศร้าง E and P
hPL/hCS ยับยั้งการทำงานของ Insulin
2.Steroid hormone
Estrogen
Progesterone
Cardiovascular system ตำแหน่งขาดหัวใจ,cardiac output,BP ลดลงเล็กน้อย >> supine hypotension syndrome ,Blood volume>> Physiological anemia, RBC,WBC,Coagulation factors >> DVT , Pulmonary embolism
ระบบ metabolism
Breasts >> Montgomery tubercles ต่อมไขมันลานนมโต
ระบบทางเดินปสสาวะ
Valva and Vagina
Chadwick's sign 8 wks
Vaginal discharge
Cervix >> Goodell' s sign นุ่มขึ้น
๊Uterus
Ovaries
ระบบผิวหนัง
ระบบทางเดินอาหาร
ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก
การเปลี่ยนแปลงทางจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
การเปลี่ยนแปลงด้านอารามณ์
T1 สองฝักสองฝ่าย Ambivalence
T2 ยอมรับการตั้งครรภ์
T3 วิตกกังวลคลอด
การ ปป.ด้านภาพลักษณ์
T1 เกิดไม่มาก
T2 เริ่มรู้สึกต่อการ ปป ยอมรับ รู้สึกดี
T3 ปป.มาก ไม่คล่องตัว อับอาย
4.การวินิจฉัยการตั้งครรภ์
Probable signs
Positive signs
Presumptive signs and Symptoms
การประเมินภาวะสุขภาพของมารดา ทารกและการคัดกรอง
1.ศัพท์ที่ควรรู้
2.การซักประวัติ
3.กำหนดวันคลอดและคำนวณอายุครรภ์
4.ตรวจร่างกาย
ุ6.ตรวจ Lab
7.คัดกรองภาวะเสี่ยง
8.นัดตรวจติดตาม
9.การให้ภูมิคุ้มกัน
5.ตรวจครรภ์
6.การส่งเสริมสุขภาพมารดาขณะตั้งครรภ์
1.โภชนาการอาหารและยา
ประเมินภาวะโภชนาการ
2.การใช้ยาในระหว่างตั้งครรภ์
3.การมีเพศสัมพันธ์
4.การออกกำลังกาย
5.การพักผ่อน
7.การเตรียมตัวเพื่อการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
2.ประโยชน์การเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
3.ข้อห้ามการให้นมแม่
1.ลษณ.หัวนม
4.การดูแลเต้านม
5.การแก้ไขหัวนมผิดปกติ
8.การกระตุ้นพัฒนาการของทารกในครรภ์
9.การเตรียมตัวเพื่อการคลอดและการเตรียมบทบาทการเป็นบิดามารดา
การดูแลด้านจิตสังคมของหญิงตั้งครรภ์
11.การพยาบาลภาวะไม่สุขสบายระหว่างการตั้งครรภ์
4.การพยาบาลในระยะคลอด
การพยาบาลทางด้านสรีรจิตสังคมของมารดาในระยะคลอด
การ ปป. ด้านจิตสังคมระยะที่ 1 คลอด
Fear
Exhaustion อ่อนล้า หมดแรง
Anxiety or Stress
การ ปป. ด้านจิตสังคมระยะที่ 2 คลอด
การ ปป. ด้านจิตสังคมระยะที่ 3 คลอด
การ ปป. ด้านจิตสังคมระยะที่ 4 คลอด
ความเครียด
ผลของความเครียดระยะสั้น
ผลของความเครียดระยะยาว
ผลของความเครียดต่อการคลอด
ความเจ็บปวด
กลไกความเจ็บปวด
ท.ควบคุมประตู Gate control theory
ท.ควบคุมความเจ็บปวดภายใน
ความเจ็บปวดในระยะคลอด
พ.เผชิญความเจ็บปวดในระยะคลอด
ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเจ็บปวด
การบรรเทาปวดโดยไม่ใช้ยา
1.ลดตัวกระตุ้นความเจ็บปวด
ใช้แรงกดต้าน สันมือกดหลัง ต้านการตึงตัวของเอ็น
ลดแรงกดท้องขณะมดลูกหดรัดตัว
Movement & Position
2.กระตุ้นปลายประสาทส่วนปลาย
ประคบน้ำอุ่นน้ำเย็น
แช่น้ำธรรมดา/อุ่น เว้น Latent phase,PROM
การสัมผัสและการนวด
กระตุ้นด้วยเครื่องไฟฟ้า
ฝังเข็มและกดจุด
3.ส่งเสริมการยับยั้งการส่งกระแสประสาทความปวดจากไขสันหลัง
ใช้ดนตรี
เพ่งจุดสนใจ
เบี่ยงเบนความสนใจ
4-8 cm จดจ่อกับนับลมหายใจเข้าออก ขณะมี UC
8 - 10 cm หายใจเข้าลึก ๆ เพ่งจุดหนึ่งอย่างแน่แน่ขณะ UC
1-4 cm เดิน พูดคุย ฟังวิทยุ อ่านหนังสือ
กลิ่นหอมระเหยบำบัด
เทคนิคการหายใจ
เริ่มเปิด - 3 cm >> Slow-deep chest breathing
4-7 cm >> หายใจแบบตื้นเร็วและเบา Shollow accelerated breathing
8-10 cm >> หายใจตื้นเร็วเป่าออก Pant-blow breathing
หายใจเบ่งคลอด >> Pushing
การส่งเสริมความสุขสบายระยะคลอด
สุขสบายทั่วไป
ความสะอาดร่างกาย
6.การพยาบาลทารกแรกเกิด
1.การประเมินสภาพทารกแรกเกิด
การตรวจร่างกายตามระบบ
ระดับความรู้สึกตัวของทารก
Ballard' score
การประเมินระบบประสาท
การจำแนกทารกแรกเกิด
2.จำแนกโดย BW
3.จำแนกโดยใช้ BW เทียบ GA
1.จำแนกโดยใช้ GA
2.การพยาบาลทารกแรกเกิดประจำวัน
3.การดูแลทารกแรกเกิดปกติ
4.การสร้างเสริมภูมิคุ้มกัน
Passive immunization
Active Immunization
การเสริมสร้างภูมิคุ้มกันในทารกแรกเกิด
BCG 0.1 ml ID Lt. หลัง 2 wks. มีตุ่มแดง หัวหนองบริเวณฉีด ไม่ต้องใส่ยา ห้ามแกะ ใช้สำลีชุบน้ำต้มสุกเช็ด
HBV 0.5 ml กล้ามเนื้อต้นขาด้านนอก ,If มารดา positive ควรฉีด Hepatitis immuno globulin o.5 ml ภายใน 12 hr. หลังคลอด
การให้วัคซีนตามเกณฑ์
การประเมินและดูแลทารก
แรกเกิดที่มีความผิดปกติเล็กน้อย
1.การป้องกันปัญหาสุขภาพ
2.ปัญหาสุขภาพของทารกแรกเกิดที่พบได้บ่อย 24 โรค
Physiological Jaundice
Breast feeding jaundice
การแหวะนม
Breast milk jaundice
Dehydration fever
Opthalmia neonatorum
Thrush ฝ้าในปาก
Constipation
Sore buttocks
Skin rashes
อาการหวัด
สะดืออักเสบ
เท้าปุก Club foot
Tongue tie
Lactose intolerance การย่อยนมที่มีแลคโตสไม่ได้
Neonatal teeth
Gingival cysts of the newborn
Undescended testis
Down's syndrome
Neonatal hypoglycemia
ท่อน้ำตาอุดตัน
ทารกไม่ยอมดูดนม
Meconium impact
การดูแลทารกแรกเกิดมีความผิด
ปกติเกี่ยวกับอุณหภูมิร่างกาย
BT ปกติ 36.5 - 37.5 C
การสูญเสียความร้อนของร่างกาย
Conduction นำ วางทารกบนที่นอนเย็น
Evaporation ระเหย หายใจ ตัวเปียกจาก ปสว. สระผมปล่อยแห้งเอง
Radiation แผ่ ความร้อนจากทารกแผ่ไปฝาตู้อบ , วางทารกใกล้ผนังห้อง
Convention ลมโกรก อาบน้ำที่โล่ง
Hypothermia
ทำให้
Hypoxia
Metabolic acidosis
Hypoglycemia
Keep warm,ห่อตัว นอน Radiant warmer
Hyperthermia
จากขาดน้ำและ Na สูง >> Skin แดง Movement ลดลง นอนเหยียดแขนขา HR เร็ว Apnea หมดสติ ชัก
การพยาบาล
ดูแลทารกแรกเกิดทันที
เคลื่อนย้ายทารก ใช้ Transport incubator
เตรียมสภาพแวดล้อมใน LR Radiant warmer ผ้าอุ่นเช็ด/ห่อตัวเด็ก
จัดสภาพแวดล้อมเหมาะสม Incubator preterm 35 - 37 C, Term 32 - 35 C
5.การพยาบาลมารดาระยะหลังคลอด
1.การเปลี่ยนแปลง/การปรับตัวด้านสรีระและการกลับคืนสู่ภาวะปกติของอวัยวะต่าง ๆ
การ ปป. ด้านสรีระวิทยาหลังคลอด 12 อย่าง
**การ ปป.ด้านจิตสังคม
2.ระยะกึ่งพึ่งพา Taking hold 3- 10 วัน
3.ระยะอิสระ Letting go phase > 10 วัน
1.ระยะพึ่งพา Taking in phase 1-3 วันหลังคลอด
2.การส่งเสริมการเลี้ยงลูกด้วยนมแม่
3.ปัญหาที่พบบ่อยในการเลี้ยงบุตรด้วยนมมารดาและวิธีแก้ไข
น้ำนมมาก
เต้านมคัด Breast engorgement
น้ำนมน้อย ไม่เพียงพอ
หัวนมแตก
หัวนมสั้น
หัวนมบอดหรือบุ๋ม
4.การส่งเสริมสุขภาพมารดาหลังคลอดปกติ
1.ความสะอาดร่างกาย
2.SEX
3.อาหาร
4.พักผ่อนและการทำงาน
5.การออกกำลังกาย
7.อาการผิดปกติที่ควรมา รพ.
8.การมาตรวจตามนัด
9.ให้คำแนะนำเรื่องการเลี้ยงลูก&ความผิดปกติลูก
6.การขับถ่าย
5.หลักการส่งเสริมสัมพันธภาพมารดา ทารกหลังคลอด
Rooming- in แม่อยู่กับลูกตลอด
สส.แม่รู้สึกดีกับลูก
สส.แม่สัมผัสลูก Sensitive period 30-45 นาที
ตอบสนองความต้องการแม่
ให้คำแนะนำและช่วยเหลือแม่ในการเลี้ยงทารก
6.การพยาบาลมารดาหลังคลอดที่มีภาวะเบี่ยงเบนทางสุขภาพ
เจ็บแผลฝีเย็บ
ริดสีดวงทวารหนักอักเสบ
After pain
ท้องผูก
Reactionary fever
ปัสสาวะลำบาก
PPH >>Sheehan's syndrome