Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย - Coggle Diagram
บทที่ 1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย
ลำดับชั้น/ศักดิ์ของกฎหมาย
พระราชกฤษฏีกา (Royal Decree)
พระมหากษัตริย์ทรงตราขึ้นตามคำแนะนำของคณะรัฐมนตรี
มีอำนาจใช้บังคับประชาชนทั่วไป แต่ไม่สามารถมีบทกำหนดโทษ
กฎกระทรวง (Ministerial regulation)
ออกโดยฝ่ายบริหาร ไม่ต้องผ่านการเห็นชอบจากรัฐสภา แต่ต้องผ่านคณะรัฐมนตรี
ข้อบังคับท้องถิ่น
ออกโดยองค์กรปกครองตนเอง
ข้อบัญญัติกรุงเทพมหานคร
ระเบียบและข้อบังคับ (Rule/Regulation/Discipline)
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงานองค์กร
กำหนดรายละเอียดวิธีปฏิบัติงาน
พระราชบัญญัติ พระราชกำหนด ประมวลกฎหมาย
พระราชบัญญัติ (พรบ.) ออกโดยฝ่ายนิติบัญญัติ/รัฐสภา
ประมวลกฎหมาย (Code of Law) รวบรวมบทบัญญัติของกฎหมายในเรื่องเดียวกันมาไว้ในหมวดเดียวกัน เพื่อง่ายต่อการศึกษา
พระราชกำหนด (Royal Enactment) รัฐธรรมนูญมอบอำนาจให้ฝ่ายบริหาร เพื่อออกข้อบังคับในกรณีฉุกเฉิน
ประกาศและคำสั่ง (Announcement/Command)
ออกโดยหัวหน้าหน่วยงาน
เป็นแนวทางในการปฏิบัติงานในหน่วยงาน
รัฐธรรมนูญ
สูงสุด รูปแบบการปกครองประเทศและวางระเบียบอำนาจสูงสุดของรัฐ ได้แก่ อำนาจนิติบัญญัติ อำนาจบริหาร อำนาจตุลาการ
เป็นกฎหมายแม่บท กฎหมายอื่นขัดแย้งไม่ได้
ความหมาย
ระเบียบ กฎเกณฑ์ ข้อบังคับ ที่รัฐหรือผู้มีอำนาจกำหนดขึ้น
ควบคุมความประพฤติ/พฤติกรรมมนุษย์
ประเภทของกฎหมาย
แบ่งตามสิทธิประโยชน์และ
ความสัมพันธ์ของบุคคล รัฐเป็นศูนย์กลาง
กฎหมายเอกชน (Private Law) เอกชนกับเอกชน
แพ่ง
พาณิชย์
วิธีพิจารณาความแพ่ง
กฎหมายระหว่างประเทศ (International Law) ประเทศต่อประเทศ
รัฐต่อรัฐ เกิดจากสนธิสัญญาระหว่างประเทศ
แผนกคดีเมือง กำหนดความสัมพันธ์ของรัฐเกี่ยวกับ
สิทธิและหน้าที่มหาชน
แผนกคดีบุคคล กำหนดความสัมพันธ์ของบุคคลต่างรัฐใน
ทางแพ่งเกี่ยวกับความประพฤติ สิทธิและหน้าที่
เช่น สัญชาติ ภูมิลำเนา การสมรส
แผนกคดีอาญา กำหนดความสัมพันธ์ของบุคคล
ที่เกิดขึ้นโดยประชาชน
กฎหมายมหาชน (Public Law) รัฐกับประชาชน
กฎหมายอาญา
กฎหมายวิธีพิจารณาความอาญา
กฎหมายปกครอง
ธรรมนูญศาลยุติธรรม
กฎหมายรัฐธรรมนูญ
แบ่งโดยแหล่งกำเนิด
ภายใน
รัฐทีมีอำนาจในการบัญญัติให้ใช้ ภายในประเทศ
ภายนอก
บัญญัติขึ้นโดยองค์กรระหว่างประเทศ เช่น สหประชาชาติ
แบ่งโดยเจตนารมณ์และเนื้อหา
ธุรกิจ
สาธารณะสุข
การเงินการคลัง
อุตสาหกรรม
ระเบียบราชการ
แบ่งโดยลักษณะการใช้กฎหมาย
กฎหมายสารบัญญัติ
กำหนดสิทธิหรือหน้าที่ให้คนปฏิบัติ
แพ่งและพาณิชย์
อาญา คุ้มครองแรงงาน
กฎหมายวิธีสบัญญัติ
วิธีการพิจารณาดคีของศาล
พิจารณาความแพ่ง
พิจารณาความอาญา
แบ่งโดยสภาพบังคับทางกฎหมาย
แพ่ง
อาญา
ปกครอง
ลักษณะ
กำหนดขึ้นโดยรัฐหรือผู้มีอำนาจ
เป็นคำสั่ง/ข้อบังคับของผู้มีอำนาจในรัฐ
องค์ที่ทำหน้าที่ออกกฎหมาย
รัฐบาล
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
รัฐสภา
บังคับใช้โดยทั่วไป
ทุกคนต้องอยู่ภายใต้กฎหมายโดยเสมอภาค
จะมีใครอยู่เหนือกฎหมายไม่ได้
เป็นกฎเกณฑ์
เป็นข้อบังคับที่เป็นมาตรฐานใช้วัด
กำหนดความประพฤติของคนในสังคมว่าถูกหรือผิด
สภาพบังคับ
เพื่อให้บุคคลปฏิบัติตาม จึงต้องมีสภาพบังคับ
ผลร้าย
โทษทางอาญา
จำคุก
กักขัง
ประหารชีวิต
ปรับ
กรณีเด็กส่งไปควบคุมในสถานพินิจ
ผลดี
กรณีจดทะเบียนสมรสใช้สิทธิคู่สมรสลดหย่อนภาษีได้
ระบบของกฎหมาย
จารีตประเพณี/ไม่เป็นลายลักษณ์อักษร (commom law system)
คำพิพากษาของศาลถือเป็นกฎหมาย
การพิพากษาคดียึดตามคำพิพากษาเดิม
เป็นการพิจารณาคดีเฉพาะเรื่องไปสู่เรื่องทั่วไป (Induction)
ลายลักษณ์อักษร/ประมวลกฎหมาย
(Civil lae system)
รัฐสภาเป็นผู้ออกกฎหมาย
ศาลต้องพิพากษาตามตัวบทกฎหมาย
เป็นการพิจารณาคดีเฉพาะเรื่องไปสู่เรื่องทั่วไป (Induction) และคำพิพากษาของศาเป็นเพียงตัวอย่าง
ลักษณะของระบบศาลไทย
จำแนกรูปแบบระบบศาลได้ 2 ระบบ
ศาลเดี่ยว
ศาลยุติธรรมวินิจฉัยชี้ขาดข้อพิพากษา
ทุกประเภท
คดีปกครอง
อาญา
แพ่ง
เป็นระบบที่ใช้มากสุด
ศาลคู่
ศาลยุติธรรมมีอำนาจชี้ขาดเฉพาะคดีแพ่งและอาญาเท่านั้น
เป็นระบบศาลที่ไทยใช้
มีผู้พิพากษา/ตุลาการของแต่ละศาลโดยเฉพาะ
ศาลของประเทศไทย
ศาลรัฐธรรมนูญ
องค์กรตุลาการที่จัดตั้งขึ้นครั้งแรก
มีอำนาจวินิจฉัยกฎหมายที่เกี่ยวกับรัฐธรรมนูญ
ศาลยุติธรรม
มีอำนาจพิพากษาคดทั้งปวง เว้นคดีรัฐธรรมนูญ/กฎหมายบัญญัติอยู่ในอำนาจศาลอื่น
มีรูปแบบพิจารณาคดีระบบกล่าวหา
มี 3 ชั้น
ชั้นต้น (Civil court) ชี้ขาดตัดสินคดี ในชั้นแรก
ศาลแพ่ง มีอำนาจพิพากษาคดีแพ่งทั้งปวง และคดีอื่นที่ไม่ได้อยู่ในอำนาจศาลยุติธรรม
ศาลอาญา มีอำนาจพิพากษาคดีอาญา
ศาลอุทธรณ์ (Appeal Court)
สูงกว่าศาลชั้นต้น
มีองค์คณะผู้พิพากษาอย่างน้อย 3 คน
ตัดสินคดีที่ศาลชั้นต้นได้ตัดสินแล้ว
แต่คู่ความยังต้องการความเป็นธรรม
ศาลฎีกา (Supreme Court)
ศาลยุติธรรมสูงสุด
มีประธานศาลฎีกาเป็นประมุขของตุลาการศาล
ยุติธรรม เป็นผู้บังคับบัญชาสูงสุด
การวินิจฉัยชี้ขาดถือเป็นที่สุด/คดีแดง
คู่กรณีไม่สามารถกลับมาฟ้องร้องได้อีก
ศาลปกครอง
จัดตั้งขึ้นใหม่ตามรัฐธรรมนูญแห่ง ราชอาณาจักรไทย
มีฐานะเทียบเท่าศาลยุติธรรม
มีอำนาจในการพิพากษาคดีในทางปกครอง
มีรูปแบบพิจารณาคดีใช้ระบบไต่สวน ศาลค้นหาความจริงด้วยตนเอง
มี 2 ชั้น
ชั้นต้น
ชั้นปกครองสูงสุด
ศาลทหาร
เป็นของคู่กันตั้งแต่มีการทหารไว้ป้องกันประเทศ
มีอำนาจหน้าที่ในการพิพากษาคดีที่ทหารกองประจำการ
กระทำผิด