Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล, pngtree-hand-drawn-cartoon…
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
ครอบครัวมีส่วนร่วมกับเด็กมากที่สุด
ระยะเฉลียบพลันและระยะวิกฤติ
1.Separation Anxiety (ภาวะกลัวการพลัดพลาก)
1.1 ระยะประท้วง เด็กจะเสียงดัง กรียดร้อง
บอกเด็กว่าจะกลับมา และมีของรักแทนใจให้เด็ก
1.2 ระยะหมดหวัง เด็กจะ เศร้าซึม เฉยเมบ
ปลอบโยน อยู่ใกล้ชิต กอด โยกกล่อมเด็ก
1.3 ระยะปฏิเสธ การปฏิเสธบิดามารดา เด็กจะสร้างสัมพันธภาพผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
สนับสนุนให้บิดามารดาได้แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
ความปวด pain
1.NIPS เด็กแรกเกิด-1 เดือน
2.FLAC 1 เดือน-3 ปี
CHEOPS 3-6 ปี
FACE scale สีหน้าบอกตัวเลข 3-8 ปี
Numeric rating scale ตัวเลข มากกว่าหรือเท่ากับ 8 ปี
Behavior pain scale เด็กใน PICU
3.Stress and coping ความเครียดและการเผชิญกับความเครียด
วัยทารก
เมื่ออยู่โรงพยาบาลเด็ก สูญเสียความควบคุมจากการที่กิจวัตรประจำวันเปลี่ยนแปลง
วัยหัดเดิน
ทำให้เด็กสูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง
วัยก่อนเรียน
สูญเสียการควบคุม ตอบสนองด้วยความรู้สึกผิด และกลัว
วัยเรียน
การขาดอิสระ กลัวทอดทิ้ง สูญเสียการยอมรับจากเพื่อน
วัยรุ่น
กลัวการเสียภาพลักษณ์
การจัดการกับความเครียด
โดยให้กำลังใจเด็กและพ่อแม่ อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจ เกี่ยวกับโรคที่เด็กเป็นอยู่
เปิดโอกาสให้ครอบครัวมีส่วนร่วมในการดแูลเด็กป่วย ให้เด็กได้เล่นของเล่นที่เด็กชอบ
สนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวช่วยเหลือในกิจกรรมการพยาบาล
ระยะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย
ระยะเรื้อรัง
วัยทารก • สร้างความไว้วางใจและเรียนรู้โดย ผ่านประสาทสัมผัส
วัยเตาะแตะ • แนะนำพ่อแม่ให้อิสระแก่เด็กทั้งที่บ้านและโรงพยาบาล
วัยก่อนเรียน • พยาบาลควรส่งเสริมให้เด็กประสบความสำเร็จตามพัฒนาการเพื่อความมั่นใจในความสามารถของเด็ก
วัยเรียน • ดังนั้นจะต้องให้เด็กมีส่วนร่วมในการดูแลตนเองและการตัดสินใจเพื่อส่งเสริม ความรู้สึกควบคุมและเรียนรู้สิ่งต่างๆ
วัยรุ่น • พยาบาลช่วยเหลอืความเป็นตัวของตัวเองโดยให้วัยรุ่นมีส่วนร่วมในการ รักษาพยาบาล ร่วมให้คำยินยอมในการรักษาและกำหนดแผนการพยาบาลร่วมกัน
ระยะสุดท้าย
ระยะต่อรอง
ช่วยเหลือโดยการสนับสนุนในสิ่งที่อยากทำ ให้ข้อมูลที่เป็นจริง
ระยะซึมเศร้า
ช่วยเหลือโดยการนั่งเงียบๆ เป็นเพื่อน
ระยะโกรธ
ช่วยเหลือโดยการรับฟัง ให้เด็กหรือพ่อแม่ได้ระบายความโกรธ
ระยะยอมรับ
ช่วยเหลือโดยการวางแผนการดูแลเด็ก
ระยะตกใจ และปฏิเสธ
ช่วยเหลือระยะนี้โดยการให้เวลา และสร้างสัมพันธภาพ
ความตาย
วัยก่อนเรียน คิดว่าเป็นการนอนหลับแล้วฟื้นอีก
วัยเรียน เข้าใจว่าความตายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และไม่สามารถฟื้นกลับได้
วัยหัดเดิน ความตายของเด็กวัยนี้จึง หมายถึง การสูญเสียผู้ดูแล เท่านั้น
วัยรุ่น เข้าใจแล้วว่าความตายเป็นการจากไปอย่างถาวร
วัยทารก ยังไม่รับรู้ถึงความตาย
นางสาวภวรัญชน์ หลังหลำ 612901063