Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia)และการกู้ชีพ…
การพยาบาลทารกแรกเกิดที่มีภาวะขาดออกซิเจน (Birth asphyxia)และการกู้ชีพ (Neonatal resuscitation)
:smiley:
อาการและอาการแสดง
ลักษณะการเต้นของหัวใจผิดปกติ ช้า (bradycardia) เร็ว (tachycardia) กราฟการเต้นของหัวใจผิดปกติ ชนิดlate deceleration, variable deceleration
การตรวจติดตามทางชีวเคมีที่ใช้กันบ่อย ได้แก่ การหาค่า estriol ในเลือดหรือในปัสสาวะ
น้ำคร่ำที่มีขี้เทา ถ้าตรวจพบไม่ว่าจากภาวะถุงน้ำคร่ำแตกเองหรือจากการเจาะตรวจ ก็จะเป็ นเครื่องบ่งชี้ว่ามีหรือเคยมีภาวะของทารกในครรภ์ขาดออกซิเจนได้
pH ของเลือดจากหนังศีรษะของทารกในครรภ์ ในกรณีที่สามารถทำได้ จะบอกให้รู้ถึงช่วยภาวะเลือดเป็นกรดอันเป็นผลจาก Asphyxia ของทารกในขณะนั้นได้เป็นอย่างดี
:smiley:
ลำดับขั้นตอนหลักของการช่วยฟื้นคืนชีพทารกแรกเกิด (Foundations of Neonatal Resuscitation)
Breathing (B): ช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกในกรณีที่ทารกไม่หายใจหรือหัวใจเต้นช้า
Circulation (C): หากหัวใจยังคงเต้นช้าหลังได้รับการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกแล้ว ทารกจึงจำเป็นต้องได้รับการช่วยให้ระบบไหลเวียนด้วยการนวดหัวใจและช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกต่อไป
Airway (a): เปิดทางเดินหายใจให้โล่ง เพื่อให้ทารกสามารถหายใจได้ด้วยตัวเอง
Drug (D): หากการหายใจยังไม่ดี หัวใจยังเต้นช้าหรือไม่เต้น ทารกจำเป็นต้องได้รับยา พร้อมด้วยการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกและการนวดหัวใจต่อไป
Initial assessment: เป็นขั้นตอนแรกเพื่อประเมินว่าทารกต้องการการช่วยฟื้นคืนชีพหรือไม
5. การนวดหัวใจ (chest compression)
โดยกดให้ทรวงอกบริเวณนั้นยุบลงไปประมาณ 1 ใน 3 ของความหนาของทรวงอก (1/3 ของ AP diameter) การกดนวดหัวใจควรกดแล้วคลายออกโดยที่มือยังสัมผัสอยู่ที่ทรวงอกของทารกตลอดเวลา
(อัตราการนวดหัวใจ : การช่วยหายใจ = 3:1) หรือ ทำการนวดหัวใจในอัตรา 90 ครั้ง/นาที ต่อ อัตราการช่วยหายใจ (PPV) 30 ครั้ง/นาท
้
ข้อบ่งชี้ในการนวดหัวใจ
จะทำเมื่ออัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
การประเมินการตอบสนองต่อการนวดหัวใจ
หลังนวดหัวใจไปแล้ว 60 วินาที
มากกว่า 60 ครั้ง/นาที ให้หยุดการนวดหัวใจ และทำการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกต่อในอัตรา 40 – 60 ครั้ง/นาที
มากกว่า 100 ครั้ง/นาทีและทารกเริ่มหายใจได้เอง
น้อยกว่า 60 ครั้ง/นาทีให้ใส่ท่อช่วยหายใจ
1. ขั้นการเตรียมการช่วยฟื้นคืนชีพ
:check:1.1. ประเมินปัจจัยเสี่ยงที่ทารกอาจจำเป็นต้องได้รับการช่วยฟื้นคืนชีพ
(1) อายุครรภ์เท่าไร (2) น้ำคร่ำใสหรือไม่ (3) จำนวนทารกกี่คน (4) มีปัจจัยเสี่ยงอะไรหรือไม่
:check:1.2. เตรียมบุคลากรที่สามารถช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกได้ เพื่อช่วยเหลือทารกแรกเกิด
:check:1.3.วางแผนการช่วยเหลือ โดยการ ทบทวนประวัติและปัจจัยเสี่ยง จัดแบ่งหน้าที่ และเตรียมของ
:fire:
ระดับความรุนแรง
:red_flag:Moderate asphyxia (APGAR Score 3-4
)
PPV จนกว่า HR > 100 bpm ให้การพยาบาลใต้radiant warmer ส่งหน่วยทารกแรกเกิดเพื่อสังเกตอาการต่ออีก 30-60 นาท
:red_flag:
Severe asphyxia (APGAR score 0-2)
ผูกและตัดสายสะดือทันทีหายใจทันทีโดยใส่ endotracheal tube clear airway ช่วยหายใจด้วย PPV ช่วยนวดหัวใจ
:red_flag:
Mild asphyxia (APGAR Score 5-7)
เช็ดตัวให้แห้ง ดดูเมอืกจากปาก จมูกและ pharynx ใช้นิ้วมือตหีรอืดดีฝ่าเท้าทารก ให้ออกซิเจน 4-5 ลิตรตอ่นาที ให้ Naloxone (Narcan) ในรายที่มารดาได้ pethidine ประเมิน APGAR Score ที่ 5 นาที HR < 100 bpm ให้ การช่วยเหลอืแบบ moderate asphyxia
7.การดูแลหลังการกู้ชีพทารกแรกเกิด (post resuscitation care)
ทารกที่ได้รับการกู้ชีพและมีความต้องการออกซิเจนหรือการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก ควรได้รับการประเมินบ่อยกว่าทารกปกต
6. การให้ยาและสารน้ำ (medication)
Naloxone hydrochloride
เป็นยาต้านฤทธิ์ยาเสพติดระงับ ปวด ตัวยาไม่มีฤทธิ์กดการหายใจ ใช้เป็นยาแก้ไขภาวะหยุดหายใจในทารกที่มารดาได้รับยาระงับปวด
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา : การให้ยาจะให้ในกรณีที่ทารกไม่หายใจเองหลังจากการช่วยหายใจจนอัตราการเต้นของหัวใจและสีผิวเป็นปกติแล้ว
ข้อห้ามของการให้ยา : ห้ามให้ยากับทารกในรายที่ มารดาติดสารเสพติดกลุ่ม opiates
ขนาดยาที่ใช้ 0.1 ml/kg ตัวยาจะอยู่ในรูปความเข้มข้น 1 mg/ml หรือ 0.4 mg/ml
Sodium bicarbonate
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา : เมื่อสงสัยหรือทราบจากการวิเคราะห์ก๊าซในเลือดว่าทารกมีภาวะเลือดเป็นกรดอย่างรุนแรง
ขนาดยาที่ใช้ : 2mEq/kg ก่อนให้ต้องมีการเจือจางด้วยน้ำกลั่นอย่างน้อยเท่าตัว
Epinephrine (Adrenaline)
การออกฤทธิ์ ช่วยเพิ่มความแรงและอัตราการบีบตัวของหัวใจเพิ่มการไหลเวียนของเลือดไปยังหลอดเลือดแดงโคโรนารี
ข้อบ่งชี้ในการให้ยา : ช่วยเหลือด้วยการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวกนาน 30 วินาที ใช้ออกซิเจนเข้มข้น 100% แล้วเป็นเวลา 60 วินาที อัตราการเต้นของหัวใจน้อยกว่า 60 ครั้ง/นาที
ขนาดยาที่ใช้ : ขนาดยาที่ให้ทาง IV route คือ 0.1-0.3 ml/kg/dose และการให้ทาง ET route
สารน้ำ (Volume expanders)
ข้อบ่งชี้ในการให้สารน้ำ เมื่อทารกไม่ตอบสนองต่อการช่วยกู้ชีพ และมีอาการแสดงของภาวะช็อก
สารน้ำที่ให้ สารน้ำที่ให้ได้แก่ 0.9% NSS (normal saline) หรือ Ringer’s lactate
ขนาดที่ให้ เริ่มให้ในขนาด 10 ml/kg ถ้าทารกไม่ตอบสนองให้ซ้ำอีกในขนาดเท่าเดิม
8. การหยุดการกู้ชีพทารกแรกเกิด
มีข้อมูลทางการแพทย์ที่แสดงให้เห็นว่าทารกมีโอกาสรอดชีวิตหรือรอดโดยมีความพิการอย่างถาวรและไม่ตอบสนองต่อการกู้ชีพอย่างเหมาะสมนานเกินกว่า 10 นาที
3. การช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
:check:
กรณีหายใจได้เอง
หัวใจเต้นมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที แต่มีลักษณะหายใจลำบากหรือยังเขียว (cyanosis) ให้จัดท่านอนใหม่ ดูดเสมหะ ติด SpO2 monitor ให้ออกซิเจน หรือ CPAP
:check:
กรณีทารกยังไม่หายใจและหัวใจเต้นช้า
ให้เริ่ม PPV และติด SpO2 monitor, ECG monitor
. :check:
Cyanosis
การประเมินภาวะขาดออกซิเจนจากการสังเกตอาการเขียวด้วยตา มีความคลาดเคลื่อนสูง จึงควรประเมินด้วย SpO2 monitor
:check:
Pulse oximetry
ติดที่แขนหรือมือข้างขวา เพื่อแสดงค่าการกำซาบออกซิเจนของเม็ดเลือดแดงและอัตราการเต้นของหัวใจทารก
:check:
การให้ free-flow oxygen
หากทารกมีค่าการกำซาบของออกซิเจนน้อยกว่าที่ควรจะเป็นทารกควรให้free-flow oxygen กับทารก ในอัตรา 10 L/m
:check:
Positive pressure ventilation: PPV
(การให้ออกซิเจนแรงดันบวก) เป็นการอัดออกซิเจนเข้าสู่ปอดของทารกด้วยแรงดัน
:check:
การประเมินผลการให้ออกซิเจนแรงดันบวก
การประเมินครั้งที่ 1 เมื่อให้ออกซิเจนแรงดันบวกไปแล้ว 15 วินาทีหากหากพบว่า
หัวใจเต้นเร็วขึ้น
หากหัวใจไม่เป็นเพิ่มขึ้น
แก้ไขการช่วยหายใจด้วยแรงดันบวก
4. การช่วยหายใจด้วยวิธีอื่น (Alternative airway: Endotracheal tube and laryngeal masks)
ขั้นตอนการเตรียมและใส่ท่อช่วยหายใจ
เตรียมท่อช่วยหายใจ
เตรียมลวดแกนท่อช่วยหายใจ (Stylet)
เตรียมประกอบ laryngoscope ให้พร้อมใช้งาน เบอร์ 0 สำหรับทารกคลอดก่อนกำหนดและ เบอร์1 สำหรับทารกครบกำหนด
เตรียมอุปกรณ์ในการดูดเสมหะ
5.การใส่ท่อช่วยหายใจ
ตรวจสอบตำแหน่งของท่อช่วยหายใจ โดยพิจารณาจาก ผู้ใส่ ET-tube มองเห็น tube ผ่านสายเสียง (vocal cord)
7.ตรึงท่อช่วยหายใจให้มั่นคง และจับท่อช่วยหายใจให้แนบกับเพดานปาก
8.ช่วยหายใจผ่านท่อช่วยหายใจ
:no_entry:
มีข้อบ่งชี้คือ
ต้องการดูดขี้เทาจากหลอดลมของทารก
ต้องทำการช่วยหายใจด้วย bag และ mask เป็นเวลานาน
ทารกอาการไม่ดีขึ้นหลังจากการช่วยหายใจด้วย bag และ mask
มีความจำเป็นต้องนวดหัวใจทารก
เป็นทางให้ยาแก่ทารกเข้าทางหลอดลมเมื่อจำเป็น
ทารกมีความผิดปกติที่ต้องการการช่วยหายใจ
:
2. ขั้นตอนเบื้องต้นในการดูแลทารกแรกเกิด (initial step of newborn care)
1.บันทึกเวลาทารกเกิด
:check:
การประเมินสภาพทารกแรกเกิดอย่างรวดเร็ว
Term: ทารกอายุครรภ์ครบก าหนดหรือไม่
Tone: ทารกมีการเคลื่อนไหวร่างกาย ขยับแขนขาไปมา
Breathing or crying: ทารกที่สามารถร้องได้เสียงดัง
:check:
การดูแลทารกแรกเกิดเบื้องต้น ใน 30 วินาทีแรกของชีวิต
ให้ความอบอุ่น และดูแลอุณหภูมิกาย (provide warmth)
จัดท่าเปิดทางเดินหายใจให้โล่ง (position the head and neck)
การดูดเมือกและเสมหะ (clear secretions if needed)
. เช็ดตัวให้แห้ง (Dry)
.กระตุ้นให้ทารกหายใจ (stimulate)
:check:
การประเมินการตอบสนองของทารก (evaluation)
การหายใจ
หากทารกยังคงไม่หายใจหรือหายใจแบบเฮือก (grasping respiration) ให้เริ่มการช่วยเหลือด้วย positive pressure ventilation (PPV) ทันที
ประเมินการเต้นของหัวใจ
อัตราการเต้นของหัวใจทารกควรมากกว่า 100 ครั้งต่อนาที
Pulse oximetry or ECG
เพื่อประเมินการได้รับออกซิเจน และอัตราการเต้นของหัวใจของทารก