Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
องค์ประกอบของการสัมมนา - Coggle Diagram
องค์ประกอบของการสัมมนา
องค์ประกอบของการสัมมนา
องค์ประกอบด้านสถานที่
ห้องรับประทานอาหารว่างมุมพักผ่อนนองห้อง
อุปกรณ์โสตทัศนูปกรณ์
ชุดไมโครโฟน เครื่องขยายเสียง เครื่องฉาย โปรเจกเตอร์โน้ตบุ๊ค และอื่นๆ
ห้องรับรอง
ใช้สาหรับรับรองวิทยากร แขกพิเศษ
ห้องรับประทานอาหาร
ห้องประชุมขนาดกลางหรือขนาดเล็ก
อาจต้องมีมากกว่าหนึ่งห้อง ควรอยู่ในพื้นที่ใกล้กัน
อุปกรณ์เครื่องมือ
ห้องประชุมใหญ่
ควรระบุสถานที่ตั้ง และการเดินทางเข้าถึงสถานที่จัดสัมมนา
อุปกรณ์ด้านเครื่องเขียนเครื่องใช้สานักงานที่มีความจาเป็นมีไว้ใช้
องค์ประกอบด้านเวลา
ระยะเวลาสาหรับการเตรียมการ
ควรวางแผนปฏิบัติงานให้ชัดเจนว่าจะใช้เวลานานเท่าใดจึงจะแล้วเสร็จ
การเชิญวิทยากร
ควรติดต่อล่วงหน้า,หากวิทยากรที่ได้เชิญไปไม่มา ควรเปลี่ยน วิทยากรที่มีคุณสมบัติใกล้เคียงแทน
วัน เวลา ที่ใช้ในการสัมมนาจะใช้กี่วัน
ขึ้นอยู่อับเรื่องที่สัมมนาว่ามีขอบเขตกว้างมาน้อยเพียงใด
เวลาน้อยเกินไปอาจส่งผลทาให้การอภิปรายการแสดงความคิดเห็นไม่กว้างขวาง
เวลามากเกินไปอาจส่งผลทาให้บรรยากาศของการสัมมนาน่าเบื่อ
จัดวันเวลาให้พอดีกับหัวข้อเรื่องที่ใช้ในการสัมมนา และสามารถปรับยืดหยุ่นได้บ้างตามความเหมาะสม
องค์ประกอบด้านบุคลากร
2.วิทยากร
บุคคลที่มีความรู้ มีความสามารถ มีประสบการณ์ มีความเชี่ยวชาญเฉพาะทางด้านใดด้านหนึ่ง บุคคลที่มีชื่อเสียงเป็นที่มีความรู้ความสามารถ
3.ผู้เข้าร่วมสัมมนา
บุคคลที่มีความสนใจใฝ่รู้ในปัญหา หรือประสบปัญหาต้องการแสวงหาแนวความคิดใหม่ๆ หรือมีความมุ่งหมาย ต้องการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกัน
1.บุคลากรฝ่ายจัดสัมมนา
รองประธาน เลขานุการ ฝ่ายทะเบียน ฝ่ายเอกสาร ฝ่ายเหรัญญิก ฝ่ายพิธีการ ฝ่ายอาคารสถานที่ วัสดุอุปกรณ์ สื่อทัศนูปกรณ์ ฝ่ายอาหารและเครื่องดื่ม ฝ่ายประชาสัมพันธ์ ฝ่ายปฏิคม และฝ่ายประเมินผล
องค์ประกอบด้านงบประมาณ
ค่าใช้จ่ายต่างๆ
วัสดุอุปกรณ์ที่จาเป็นต้องจัดซื้อ
จัดทางบประมาณรวม
ฝ่ายได้รับการเห็นชอบแล้วต้องนางบค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายมาลงในโครงการ
อาจแนบรายละเอียดค่าใช้จ่ายของแต่ละฝ่ายไปพร้อมโครงการ
จัดประชุมแต่ละฝ่ายที่รับผิดชอบ
จัดประมาณการค่าใช้จ่าย
พิจารณาถึงความเหมาะสมสาหรับค่าใช้จ่ายแต่ละรายการของแต่ละฝ่ายก่อนโดยให้มีรายละเอียดให้มากที่สุด อย่าให้ต้องตกหล่นในรายการใดรายการหนึ่งไป
1.องค์ประกอบด้านเนื้อหา
1.2 จุดมุ่งหมายของการจัดสัมมนา
เพื่อให้ได้วิธีการหรือแนวทางในการแก้ปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
เพื่อศึกษาค้นคว้าวิจัยในเรื่องที่มีความจาเป็นเร่งด่วน
เพื่อศึกษาและสารวจปัญหาเรื่องใดเรื่องหนึ่งที่อยู่ในความสนใจ
เพื่อเรียนรู้ และมีการแลกเปลี่ยนผลของการศึกษาค้นคว้า
เพื่อร่วมพิจารณาหาข้อสรุปผลรายงานการศึกษาค้นคว้าในเรื่องที่สนใจ
1.3 กาหนดการสัมมนา
ชื่อเรื่องสัมมนา
วัน เดือน ปี ที่จัดสัมมนา
ชื่อกลุ่มสาระวิชา กลุ่มบุคคลผู้ดาเนินการ หรือผู้รับผิดชอบจัดสัมมนา
สถานที่จัดสัมมนา
1.1 ชื่อเรื่อง
สามารถกาหนดปัญหา หาแนวทางการแก้ไขปัญหาได้อย่างเป็นระบบ
ควรเป็นเรื่องที่มีขอบเขตเฉพาะเรื่อง
มีความทันสมัยสอดคล้องกับสภาการณ์ปัจจุบัน
ควรเป็นเรื่องที่ต้องการศึกษาปัญหา
1.4 ผลที่ได้จากการสัมมนา
ผู้เข้าร่วมสัมมนาได้รับผลประโยชน์ทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
มีการกาหนดผลที่คาดว่าจะได้รับจากการสัมมนาไว้
ความหมายของการ
สัมมนา
ไพพรรณ เกียรติโชติชัย
กลุ่มบุคคลได้ร่วมใจพยายามเสาะแสวงหาความรู้เรื่องใดเรื่องหนึ่งล้วพยายามแลกเปลี่ยนความรู้เพื่อหาข้อสรุปในเรื่องนั้นๆ
นิรันดร์ จุลทรัพย์
การประชุมร่วมกันของคณะบุคคล เป็นกระบวนการเป็นกระบวนการเรียนรู้หรือแก้ปัญหาโดยอาศัยกระบวนการกลุ่ม (Group Process) เป็นสาคัญ
ราชบัณฑิตยสถาน
มีวัตถุประสงค์เพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ ความคิด และหาข้อสรุป หรือข้อเสนอแนะในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง ผลสรุปที่ได้ถือว่าเป็นเพียงข้อเสนอแนะ
ผล ยาวิชัย
การประชุมกลุ่มบุคคลที่มีพื้นความรู้ความสามารถความสนใจในงานสาขาวิชาชีพเดียวกัน เพื่อการศึกษาค้นคว้าเรื่องใดเรื่องหนึ่งร่วมกัน
สมคิด แก้วสนธิ และสุนันท์ ปัทมาคม
การสัมมนาเป็นการจัด ในลักษณะอภิปรายและแลกเปลี่ยนความคิดเห็นประสบการณ์ หรือ เป็นการระดมความคิด เรื่องใดเรื่องหนึ่ง
ไพโรจน์ เนียมนาค
การประชุมเพื่อแลกเปลี่ยนความรู้ และความคิดเห็นเพื่อหาข้อสรุปในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เป็นเพียงข้อเสนอแนะผลและจากการสัมมนา จะช่วยให้ระบบและวิธีการทางานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
ขั้นตอนการจัดสัมมนา
ขั้นตอนที่ 2 =การดำเนินการระหว่าง การสัมมนา
จัดกลุ่มใหญ่
ชี้แจงแนวทางสัมมนา
วิทยากรบรรยาย
จัดกลุ่มย่อย
กลุ่มย่อยจะร่วมกันถกปัญหา
เสนอข้อคิดเห็น
เสนอแนะแนวทางแก้ไขปัญหา
เปิดการสัมมนา
กล่าวรายงาน
กล่าวเปิดการสัมมนา
จัดรวม
รายงานผลการประชุม
สรุปประเมินผลสัมมนา
ลงทะเบียน
เซ็นชื่อ
รับเอกสาร
ปิดการสัมมนา
กล่าวปิด
ขั้นตอนที่ 3 =การดำเนินการหลัง การสัมมนา
รายงานหน่วยงานที่ เกี่ยวข้อง
ดำเนินงานงบประมาณ
รายงานผู้บังคับบัญชา
ติดตามผลและวิเคราะห์
วิเคราะห์ผลการศึกษา
ขั้นตอนที่ 1 =การเตรียมการก่อน การสัมมนา
ตั้งคณะกรรมการกลาง
พิจารณาแผนการและจัดเตรียมขั้นตอนในการดำเนินการ
พิจารณาแนวทางในการประชาสัมพันธ์ วิธีการประเมินผล
พิธีเปิด พิธีปิด
พิจารณาและเสนอการแต่งตั้งคณะอนุกรรมการฝ่ายต่างๆ
พิจารณาบุคคลหรือผู้เชี่ยวชาญ ที่จะเชิญเข้าร่วมการสัมมนา
พิจารณาปัญหาอื่นๆ ที่คาดว่าอาจจะเกิดขึ้นได้ในขั้นการเตรียมงาน
พิจารณาเรื่องอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องตามความเหมาะสม
พิจารณาหาหัวข้อเรื่องจโดยการรวบรวมและแยกแยะในประเด็นปัญหาต่างๆ
เขียนโครงการสัมมนา
วัตถุประสงค์
5 กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้าร่วมการสัมมนา กำหนดไว้ให้ชัดเจนว่าเป็นใคร
หลักการและเหตุผล
วิทยากร กำหนดว่าคือใคร มีคุณสมบัติอย่างไร
ผู้รับผิดชอบโครงการ อาจเป็นหน่วยงาน องค์การ หรือบุคคล
ระยะเวลา=เริ่มตั้งแต่วันใดและสิ้นสุดในวันใด
ชื่อโครงการ
5 กลุ่มเป้าหมายหรือผู้เข้าร่วมการสัมมนา
สถานที่ต้องแจ้งให้ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบด้วย
วิธีการสัมมนา
10.งบประมาณ
ผลที่คาดว่าจะได้รับ
12.กำหนดตารางการสัมมนาในแต่ละวัน โดยระบุเวลาและกิจกรรมที่จะทำอย่างชัดเจน
สำรวจประเด็นปัญหา
ใช้การจัดสัมมนาช่วยให้บุคลากรในหน่วยงานเข้าใจนโยบายของหน่วยงานและปฏิบัติได้อย่างถูกต้อง
ความต้องการของบุคลากร
ปัญหาและอุปสรรคที่เกิดขึ้นในการทำงาน หรือปัญหาที่เกิดขึ้นในหน่วยงา
ดำเนินงานเตรียมการสัมมนา
การประชาสัมพันธ์การสัมมนา
ลักษณะของการสัมมนาที่ดี
จัดให้มีเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ความคิดเห็น และข้อเท็จจริงร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมสัมมนามีทัศนคติที่ดีต่อปัญหา ข้อเท็จจริง ผู้เข้าร่วมสัมมนา และตนเอง
จัดให้มีกิจกรรมในการเรียนรู้ร่วมกัน
ผู้เข้าร่วมสัมมนาต้องใช้ความคิดร่วมกันในการแก้ปัญหา
จัดให้มีกิจกรรมในการแก้ปัญหาร่วมกัน
มีผู้นาที่ดี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาทราบวัตถุประสงค์ของการสัมมนา
ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้ฟังที่ดี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาเป็นผู้พูดที่ดี
ผู้เข้าร่วมสัมมนาทุกคนเป็นผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในการดาเนินการประชุมสัมมนา
ประโยชน์ของการสัมมนา
ไพโรจน์ เนียมนา
2.เป็นเครื่องมือสาคัญในการกระจายข่าวสารต่างๆ
3.ช่วยส่งเสริมทัศนคติต่อองค์การ
1.ช่วยเพิ่มผลผลิตทั้งปริมาณและคุณภาพ
ประโยชน์ต่อตนเอง
3.ช่วยพัฒนาบุคลิกภาพของตนเองและปรับปรุงวิธีการปฏิบัติงาน
4.ช่วยให้มีความเชื่อมั่นในตนเอง พร้อมที่จะทางาน กล้าเผชิญปัญหา
2.สามารถปรับตัวให้ทันกับความเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคมเทคโนโลยี และการเปลี่ยนแปลงอื่นๆ
5.ช่วยให้เป็นผู้รู้จักศึกษาเรียนรู้ตลอดชีวิต
1.ช่วยเพิ่มทักษะ ความรู้ความสามารถ
6.ช่วยให้รู้จักบุคคลหรือมิตรมากขึ้น
ผล ยาวิชัย
3.มีความรู้สึกเป็นส่วนหนึ่งของกิจกรรมนั้นๆ เพราะได้รับทราบเรื่องราว
เป็นการชวยผ่อนผันหรือทุเลาปัญหาที่ยังไม่สามารถแก้ไขได้
เป็นการร่วมกันแก้ปัญหาโดยผนึกความคิด ความรู้และประสบการณ์ของคนหลายคนเข้าด้วยกัน
เป็นการช่วยให้ผู้เข้าสัมมนาได้ฟังความคิดเห็นของผู้อื่น ซึ่งจะทาให้มีทัศนะที่กว้างขวางขึ้นและเกิดแนวคิดของตนเอง
เป็นการแลกเปลี่ยนข้อมูล
ช่วยในการประสานงานได้ดี
ประโยชน์ต่อองค์กร
ยกระดับความสามารถของบุคลากรในการปฏิบัติงานให้เป็นไปตามทิศทาง เป้าหมาย และนโยบายขององค์การ
ช่วยเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ เพื่อหลีกเลี่ยงปัญหาที่เกิดขึ้นได้
เพิ่มคุณภาพของผู้ปฏิบัติงานที่มีอยู่จากัดแทนการเพิ่มงบประมาณ
ช่วยประหยัดงบประมาณรายจ่าย
ช่วยเสริมสร้างขวัญกาลังใจในการทางานแก่ผู้ปฏิบัติงาน
มีประสบการณ์โดยมีผลกระทบต่องานที่ปฏิบัติ
ช่วยเสริมสร้างทัศนคติที่ถูกต้องในการปฏิบัติงานของบุคลากรและเป็นที่พึงประสงค์ของหน่วยงาน
ทาให้เกิดความสามัคคีในหน่วยงาน
ช่วยเพิ่มผลผลิตในการบริหารจัดการ
เกษกานดา สุภาพจน์
เป็นการพัฒนาผู้ปฏิบัติงานให้พร้อมอยู่เสมอ
เป็นการส่งเสริมความก้าวหน้าของผู้ปฏิบัติงาน
4.ทำให้เข้าใจถึงวิธีการปฏิบัติงานตลอดจนปัญหาต่างๆ และวิธีการแก้ไขปรับปรุงและพัฒนางานให้ได้ผลดี
เกิดความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
3.ช่วยทาให้ระบบและวิธีการทางานมีประสิทธิภาพสูงขึ้น
มีมนุษย์สัมพันธ์ เกิดความร่วมมือร่วมใจในการทางาน สามารทางานเป็นทีมได้เป็นอย่างดี
2.ผู้เข้าร่วมสัมมนา ได้รับความรู้ในการทางานและชีวิตส่วนตัวได้
เกิดความกระตือรือร้น กล้าคิด กล้าทา กล้าตัดสินใจ มีความรับผิดชอบ รู้จักยอมรับความคิดเห็นของผู้อื่น รู้จักใช้ดุลยพินิจวิเคราะห์ปัญหา สามารถแก้ปัญหาในการทางานและเกิดภาวะผู้นา
1.ผู้จัดสัมมนาหรือผู้เรียนสามารถจัดสัมมนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ
วัตถุประสงค์ของการ
สัมมนา
สมจิตร เกิดปรางค์
และ นุตประวีณ์ เลิศกาญจนวัต
เพื่อค้นหาวิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทางปฏิบัติร่วมกัน
เพื่อให้ได้แนวทางประกอบการตัดสินใจหรือกาหนดนโยบายบางประการ
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นซึ่งกันและกัน ระหว่างผู้เข้าสัมมนาด้วยกัน และผู้เข้าสัมมนากับวิทยากร
เพื่อกระตุ้นให้ผู้ร่วมเข้าสัมมนานาหลักวิธีการที่ได้เรียนรู้ไปใช้ให้เป็นประโยชน์
เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์แก่ผู้เข้าร่วมสัมมนา
ไพพรรณ เกียรติโชติชัย
1.เพื่อยกระดับประสิทธิภาพที่มีลักษณะเด่นอย่างหนึ่ง
2.เพื่อให้เกิดผลสาเร็จ ทั้งความรู้ใหม่และข้อมูลที่ใช้ในการปฏิบัติงาน
สุทธนู ศรีไสย์
เพื่อค้นคว้าหาคาตอบ ข้อเสนอแนะหรือหาข้อยุติที่จะใช้แก้ปัญหาร่วมกัน
เพื่อนาผลของการสัมมนาเป็นเครื่องมือในการตัดสินใจหรือกาหนดนโยบาย
เพื่อการศึกษาและเรียนรู้ประเด็นต่างๆ ของปัญหาเพื่อนาไปสู่การแก้ปัญหา
เพื่อการพัฒนาและการปฏิบัติงานให้บรรลุตามเป้าประสงค์
นิรันดร์ จุลทรัพย์
เพื่อเพิ่มพูนและเติมเต็มความรู้ความสามารถ
เพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็นระหว่างกันและกัน
เพื่อค้นหาคาตอบ วิธีการแก้ปัญหาหรือแนวทางการแก้ปัญหาในทางปฏิบัติร่วมกัน
เพื่อให้ได้แนวทางสรุป ประกอบการตัดสินใจ หรือหาแนวทางการแก้ปัญหา
เพื่อสร้างความตระหนักหรือกระตุ้นให้ผู้เข้าร่วมสัมมนา
การจัดสัมมนารูปแบบต่างๆ
3.Role play
การแสดงบทบาทสมมุติ
1.แบ่งเป็นกลุ่มย่อยได้แสดงบทบาท ในสถานการณ์จริง
2.วิธีการนี้จะช่วยให้สมาชิกรับรู้ และสามารถปฏิบัติจริงได้เป็นอย่างดี
4.Group discussion=การอภิปรายกลุ่ม
3.สมาชิกผู้ร่วมประชุมจะเป็นผู้ร่วมอภิปราย
ไม่ต่ำกว่า 4คน
ไม่เกิน 8 คน
2.มีเลขานุการเป็นผู้จดบันทึกและสรุปข้อเสนอแนะ
1.ผู้นำอภิปราย 1 คน
เรื่องของการจัดกลุ่มและการกาหนดหัวข้ออภิปราย
1.กำหนดหัวข้อเรื่องเดียวสาหรับทุกกลุ่ม ผู้นำอภิปรายอาจกาหนดชื่่อหัวหน้ากลุ่มบนกระดานดำ แล้วให้บุคคลอื่นเลือกเข้ากลุ่มตามความสนใจต่อตัวบุคคล
2.กำหนดหัวข้อเรื่องหลาย ๆ หัวข้อตามจานวนกลุ่มที่แบ่ง วิธีนี้ใช้เรียกหาอาสาสมัครเขียนบนกระดานดา แล้วให้ผู้ร่วมอภิปรายเลือกเข้ากลุ่มต่อไป บางครั้งก็อาจกาหนดกลุ่มให้เลยก็ได้ตามความเหมาะสมของลักษณะกลุ่มหรือความถนัดกลุ่มหรือหัวข้อเรื่อง
2.Panel discussion
ผู้ฟังได้รับความรู้ทั่ว ๆ ไป
ผู้ร่วมสัมมนามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกัน และกันได้อย่างเสรี
จานวนคนในการสัมมนา 3 - 8 คน
วัตถุประสงค์ในการสัมมนาจะเป็นการสัมมนาความรู้ทั่ว ๆ ไป
ลักษณะการจัดเป็นกันเอง
5.Round table=การอภิปรายแบบโต๊ะกลม
1.ผู้อภิปรายทุกคนจะหันหน้าเข้าหากัน
2.การแสดงความคิดเห็นของผู้อภิปราย ไม่จาเป็นต้องเรียงลาดับเป็นการแลกเปลี่ยนความคิดเห็นและข้อเท็จจริงซึ่งกันและกัน
1.Symposium
ผู้สัมมนาจะเป็นผู้เชี่ยวชาญและมีความรู้ เฉพาะด้าน
จานวนคนประมาณ 2 - 5 คน
ลักษณะการจัดเป็นทาง
ผู้ฟังได้รับความรู้อย่างกว้างขวางละเอียด
ผู้ร่วมสัมมนามีปฏิสัมพันธ์ระหว่างกันน้อย มากหรือไม่มีเลยเพราะต่างพูดในเรื่องที่ตนถนัด
Workshop=การประชุมเชิงปฏิบัติการ
1.แลกเปลี่ยนความคิดเห็น
2.เน้นในการนำเอาไปใช้มากกว่าการฟังการบรรยายหรือการอภิปราย
การสัมมนาแบบปุจฉา - วิสัชนา (Colloquy)
แบ่งกลุ่มบุคคลออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มผู้ถามซึ่งเป็นผู้ฟัง และกลุ่มผู้ตอบ ซึ่งเป็นวิทยากร
ผู้ดาเนินการสัมมนาคอย ควบคุมการซักถาม ระหว่างกลุ่มบุคคลทั้งสองกลุ่ม
ผู้ดาเนินการสัมมนาควรสรุปปัญหาเป็นเรื่องๆ
ผู้ดาเนินการอภิปรายจะต้องมีความสามารถในการควบคุม รายการสัมมนาได้ดี
แบบบรรยาย (Lecture)
ผู้ให้ความรู้แก่สมาชิกทางเดียว (One – way communications)
แบบอภิปราย (Discussion)
ประชุมที่ผู้เข้าร่วมประชุมจะมีส่วนร่วมในการแสดงความ
คิดเห็นและแลกเปลี่ยนประสบการณ์ซึ่งกันและกันอย่างเสรี
การอภิปรายแบบเสียงกระซิบ (Buzz Discussion or Phillips 6)
ผู้เข้าร่วมอภิปรายทุกคนมีโอกาสแสดงความคิดเห็นอย่างเต็มที่ โดยไม่ตัดสินว่าถูกหรือผิดเพื่อให้ได้ข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหามักจะใช้สถานที่ในบริเวณเดียวกัน
ทั้งหมด 6 คน ใช้เวลาในการประชุม 6 นาที ด้วยเหตุนี้จึงเรียกว่า “Phillips 6”
การอภิปรายแบบระดมสมอง (Brainstorming)
เป็นผู้เริ่มจัดเป็นคนแรก เป็นกิจกรรมกลุ่มที่มีผู้ร่วมอภิปราย 5 – 15 คน
การสาธิต (Demonstration)
นกิจกรรมที่แสดงขั้นตอนการปฏิบัติการในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง
คุณสมบัติของผู้ร่วมการ
สัมมนาที่ดี
ฟังและปฏิบัติตามที่วิทยากรแนะนำด้วยความเต็มใจ เพื่อแสวงหาความรู้ใหม่ๆ
ผู้สัมมนาที่ดีควรศึกษาเอกสารสัมมนา เพื่อให้เกิดความเข้าใจแนวทางการสัมมนา
แสดงความคิดเห็นและแลกเปลี่ยนความรู้กับผู้อื่น แต่การแสดงความคิดเห็นในแต่ละครั้งต้องเป็นไปตามความสิ่ง โดยอาศัยหลักการและเหตุผล
มีเป้าหมายที่จะแลกเปลี่ยนประสบการณ์ความคิดความสามารถซึ่งกันและกัน
จดบันทึกประเด็นสำคัญๆ เพื่อนำมาจัดลำดับความรู้และแนวคิด
ต้องการแสวงหาแนวคิดใหม่ๆ
เข้าร่วมกลุ่มตามความสนใจหรือตามที่ผู้จัดสัมมนาได้กำหนดไว้
เป็บบุคคลที่สนใจปัญหาหรือกำลังประสบปัญหา
รับฟังและยอมรับความเห็นของผู้อื่น
ไม่อภิปรายนอกประเด็นที่กำลังสัมมนาอยู่
ไม่ทำกิจกรรมอื่นที่ไม่เกี่ยวข้องกับหัวข้อสัมมนา
สรุปและประมวลความรู้ เพื่อเป็นแนวทางในการปฏิบัติให้เกิดประโยชน์
ประโยชน์ที่ได้รับ
ได้ทราบถึงขั้นตอนและแนวทางในการจัดสัมมนาที่ถูกต้อง
ได้ทราบประโยชน์ของการจัดสัมมนา
เข้าใจหลักการและการแนวทางในเลือกหัวข้อการสัมมนาให้เกิดประโยชน์และมีความหน้าสนใจมากยิ่งขึ้น
จากการศึกษาทำให้มีควรสนใจอยากฟังสัมมนามากขึ้นเพราะมองเห็นถึงประโยชน์ที่จะได้รับ
อ้างอิง
ณิรดา เวชญาลักษณ์.(2020).ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา.สืบค้น
2มิถุนายน2563,จาก
http://elearning.psru.ac.th/courses/185/Lesson1.pdf
Dexter Moscow.(2011).The Secrets to Creating Compelling Seminar ContentRetrieved June. 3.2020 from
https://www.persuasivepresentations.biz/how-to-create-compelling-seminar-content/
ไพพรรณ เกียรติโชคชัย. (2558).ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการสัมมนา.สืบค้น 2มิถุนายน 2263,จาก
http://blog.bru.ac.th/wp-content/uploads/bp-attachments