Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน, น.ส. สุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา602701104…
5.3 ความผิดปกติของฮอร์โมน
โรคเบาหวานระหว่างตั้งครรภ์
ชนิด
Overt Diabetes mellitus
เบาหวานก่อนการตั้งครรภ์ก่อนอายุครรภ์ 24 สัปดาห์
Gestational diabetes mellitus
ความผิดปกติของความคงทนต่อน้ำตาลกลูโคสตรวจพบครั้งแรกระหว่างการตั้งครรภ์
ผลกระทบ
ต่อโรคเบาหวาน
การควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดยาก
Diabetic ketoacidosis
ความต้องการอินซูลินไม่แน่นอน
ต่อทารก
Pregnancy induced hypertension
Infection
Diabetic nephropathy
Preterm birth
Polyhydramnios
Diabetic retinopathy
Dystocia
Postpartum hemorrhage
ต่อมารดา
Fetal death or Stillbirth
Macrosomia
Malformation
IUGR
Abortion
ต่อทารกแรกเกิด
Hyperbilirubinemia
Polycythemia
Neonatal hypoglycemia
Inheritance of diabetes
Respiratory distress syndrome
จำแนกชนิดเบาหวานขณะตั้งครรภ์
Overt DM
Type I
diabetes or Insulin dependent diabetes mellitus
Type II
diabetes or Noninsulin dependent diabetes mellitus
GDM
GDM A-1
fasting plasma glucose น้อยกว่า 105 mg / dl
2-hour post prandial glucose น้อยกว่า 120 mg / dl
GDM A-2
fasting plasma glucose มากกว่า 105 mg / dl
2-hour post prandial glucose มากกว่า 120 mg / dl
การวินิจฉัย
การคัดกรองขณะตั้งครรภ์
การประเมินภาวะเสี่ยง
BMI>27 kg/m2
ครอบครัว
คลอดผิดปกติ
อายุมากกว่า 35 ปี
Hx.DM
Urine :Trace
Glucose challenge test
Plasma glucose >140 มก./ดล ส่ง OGTT
140-199 mg/dl นัด 1 wk. มาตรวจ DM
Glucose 50 g. 1ชม.
200 mg/dl = GDM
Oral Glucose Tolerance Test
การดูแลรักษา
ระยะคลอด
การกำหนดเวลาคลอด
IV fluid
การใช้ Insulin
การคลอดตามข้อบ่งชี้
ก่อนการตั้งครรภ์
ควบคุมเบาหวาน
ควบคุมน้ำหนัก
สังเกตเด็กดิ้น
การใช้ Insulin
การสังเกตภาวะแทรกซ้อน
งดน้ำตาล
ควบคุมอาหาร
ระยะหลังคลอด
การคุมกำเนิด
การดูแลทารก
ภาวะแทรกซ้อน
Breast feeding
ควบคุมระดับน้ำตาล
ภาวะต่อมไทรอยด์
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานมาก
สาเหตุ
Graves
Toxic adenoma
Plummer’s disease
การวินิจฉัย
การตรวจร่างกาย
การตรวจทางห้องปฏิบัติการ
เจาะเลือดตรวจ TSH จะต่ำT3uptakeสูง T4สูง
การซักประวัติ
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ความดันโลหิตสูงร่วมกับการตั้งครรภ์
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แท้งและคลอดก่อนกำหนด
ต่อทารก
ต่อมไทรอยด์เป็นพิษแต่กำเนิด
ภาวะพร่องไทรอยด์ฮอร์โมนแต่กำเนิด
ทารกเจริญเติบโตช้าในครรภ์
การรักษา
การให้ยา
Methimazole
Adrenergic blocking agent (Inderal)
Propylthiouracil (PTU) 100-150 mg/day
Radioiodine therapy
การผ่าตัด
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
แนะนำการปฏิบัติตัว
การรับประทานยา
รักษาความสะอาด
การพักผ่อน วันละ 10 ชั่วโมง
นับการดิ้นของทารก
รับประทานอาหาร 4000-5000 แคลอรี
อธิบายเกี่ยวกับโรค
ระยะคลอด
ระยะที่1
ดูแลให้ระงับการปวด
ประเมินความก้าวหน้าของการคลอด
วัดสัญญาณชีพทุก1-2ชม.
ประเมินสภาพของทารกในครรภ์
จัดท่า Fowler’s position
ระยะที่ 2
ฟังเสียงหัวใจทารกทุก5นาที
หลังคลอดฉีด Syntocinon
ให้ผู้คลอดเบ่งน้อยที่สุด
ห้ามใช้ยา methergin
ประเมินสัญญาณชีพทุก10นาที
ระยะหลังคลอด
ดูแลให้ยาPTU
ให้นมบุตรได้
ให้พักผ่อนช่วยเหลือกิจกรรม
การวางแผนครอบครัว
ป้องกันการตกเลือดหลังคลอด
การประเมินสภาพทารก
แนะนำการป้องกันการติดเชื้อ
ภาวะต่อมไทรอยด์ทำงานน้อย
สาเหตุ
จากการผ่าตัดหรือจากสารรังสีรักษา
จากการขาดไอโอดีน
มีการทำลายเนื้อต่อมไทรอยด์
การวินิจฉัย
อาการ
ทนเย็นไม่ได้
เบื่ออาหาร
น้ำหนักเพิ่ม
ผมร่วม เล็บเปราะ เสียงแหบ
ผิวแห้งกร้าน
การตรวจ
Tต่ำ DTRช้า
ระดับ FT4ต่ำ ระดับTSH จะสูง
ประวัติ
การรักษามาก่อน
การใช้ยาlithium
การรักษา
ปรับขนาดยาตามระดับ TSH , T4
ติดตามการทำงานของต่อมไทรอยด์ทุกไตรมาส
Levothyroxine (T4 )
ผลกระทบ
ต่อมารดา
ทารกตายในครรภ์
ความดันโลหิตสูง
คลอดก่อนกำหนด
รกลอกตัวก่อนกำหนด
แท้ง
ตกเลือดหลังคลอด
ต่อทารก
ทารกมีความบกพร่องในการพัฒนาสมอง
Cretinism
น.ส. สุกัญญา พลเยี่ยม รหัสนักศึกษา602701104 นักศึกษาพยาบาลศาสตรบัณฑิตชั้นปีที่ 3 รุ่นที่35