Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
อิเหนา ตอนศึกษากะหมังกุหนิง, image, image, image, image, image, image,…
อิเหนา ตอนศึกษากะหมังกุหนิง
ผู้แต่งคือ
พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ร.2
ลักษณะคำประพันธ์
เป็นกลอนบทละคร แต่มีลักษณะบังคับเหมือนกลอนสี่สุภาพ แต่ละวรรคจะขึ้นด้วยคำว่า เมื่อนั้น บัดนั้น และมาจะกล่าวบทไป
จุดมุ่งหมายของบทละคร เพื่อใช้ในการแสดงละครใน
ความเป็นมา มีเค้าเรื่องมาจากชวาที่เรียกว่า
นิทานปันหยี
ตัวละคร
นางบุษบา : นางบุษบาเป็นคนที่อยู่ในโอวาทของพ่อแม่ แม้จะไม่พอใจในรูปร่างของจรกา แต่ก็ไม่ปฏิเสธเมื่อพ่อแม่ยกนางบุษบาให้จรกา บุษบาเป็นคนไม่เจ้ายศเจ้าอย่าง แม้ตนเองจะสูงศักดิ์
ท้าวดาหา : เป็นพระอนุชาขององค์รองของท้าวกุเรปัน เป็นคนรักษาคำพูด มีขัตติยมานะ รอบคอบในการศึก
ท้าวกะหมังกุหนิง : เป็นกษัตริย์เมืองกะหมังกุหนิง มีความรักต่อลูก ใจเด็ด แต่ประมาท
ท้าวกุเรปัน : เป็นกษัตริย์ที่ยิ่งใหญ่ มีพระอนุชา 3 พระองค์ ได้แก่ เมืองดาหา กาหลัง สิงหัดส่าหรี นิสัยเป็นคนถือยศศักดิ์ รักเกียรติและวงศ์ตระกูล
อิเหนา : เป็นโอรสของท้าวกุเรปันกับประไหมสุหรีนิหลาอระตา มีลักษณะเจ้าชู้ แต่มีความเป็นชายชาติทหารอย่างนักรบ เข้มแข็ง เด็ดเดี่ยว
วิหยาสะกำ : เป็นคนเอาแต่ใจ ยึดตัวเองเป็นที่ตั้ง ใจเด็ด แต่ด้วยความที่อายุยังน้อย เลยใจร้อน ทำให้เสียชีวิตก่อนวัยอันควร
ข้อคิด
1.แทรกความรู้ วัฒนธรรมประเพณีไทย
2.มีลักษณะการจัดกลอนบทละคร ท่ารำ การใช้ แสดงละครรำได้ดี
3.ถ่ายทอดเนื้อความได้ซึ้งกินใจ
คุณค่าจากบทประพันธ์
คุณค่าด้านานื้อหา ความรักของพ่อที่มีต่อลูก รักและตามใจทุกอย่าง แม้นกระทั่วตัวตายก็ยอม
คุณค่าด้านวรรณศิลป์
การใช้คำและโวหาร
การใช้ภาษาสละสลวยงดงาม
คุณค่าด้านสังคม
ประเพณีและความเชื่อ
ความเชื่อเรื่องโชคชะตา การเชื่อเรื่องคำทำนาย
ความสุนทรียของงานประพันธ์ ความรักไม่ต้องมีกฎเกณฑ์
วิเคราะห์บทประพันธ์
ท้าวดาหาเสด็จออกรับทูตกะหมังกุหนิง