Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล - Coggle Diagram
การดูแลเด็กเมื่อเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล
Family Centered Care/สิทธิเด็ก
การดูแลโดยใช้ครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
พยาบาลผู้ดูแลเด็กป่วย ต้องเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาให้ความรู้แก่บิดามารดาเกี่ยวกับการเจริญเติบโตทางด้นร่างกายจิตใจอารมณ์
พยาบาลให้การดูแลเด็กและสมาชิกในครอบครัวเกี่ยวกับการป้องกันความผิดปกติ ส่งเสริมการปรับตัวของเด็กกับพี่น้องบิดามารดาและครอบครัว ส่งเสริมให้มีคุณภาพชีวิตที่ดี
บทบาทของพยาบาลในการดูแลครอบครัวเป็นศูนย์กลาง
มีสัมพันธภาพที่ดีกับผู้ป่วยเด็กและสมาชิกในครอบครัว
ประสานและส ่งต่อกับพยาบาลในชุมชนเกี่ยวกับการดูแลเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
ป้องกันภาวะวิกฤตที่อาจเกิดขึ้นได้ละส ่งเสริมให้เด็กและครอบครัวดูแลการเจ็บป่วยขั้นต้นได้
ส่งเสริมทางด้นจิตสังคมให้เด็กและสมาชิกครอบครัวมีการปรับตัวต่อภาวะ
วิกฤตได้
มีความรู้เกี่ยวกับการเจริญเติบโตและพัฒนาการปกติ รวมทั้งระบบของ
ครอบครัว มีการวางแผนการพยาบาล โดยใช้กระบวนการพยาบาลมาใช้
บทบาทของครอบครัวต่อเด็กเจ็บป่วย
มีความรู้ในการดูแลผู้ป่วยที่บ้าน
สัมพันธภาพเละความรู้สึกระหว่างเด็กป่วยเละสมาชิกในกรอบครัว
บิดามารดาต้องมีความรู้ความเข้าใจในการเจ็บป่วยของเด็กเกี่ยวกับสาเหตุการเจ็บป่วยการได้รับการดูแลเละการรักษา
การปรับตัวของเด็กป่วยและสมาชิกในครอบครัว
สิทธิขั้นพื้นฐานตามอนุสัญญาว่าด้วยสิทธิเด็กมีดังนี้
สิทธิในการพัฒนา (Right of Development)
การได้รับโอกาสในการพัฒนา อย่างเต็มตาม
ศักยภาพ
สิทธิในการได้รับการคุ้มครอง (Right of Protection)
การได้รับการ คุ้มครองจากการเลือก
ปฏิบัติการล่วงละเมิดการถูกกลั่นแกล้งการถูกทอดทิ้ง
สิทธิการมีชีวิตอยู่รอด (Right of Survival)
สิทธิของเด็กที่คลอดออก มาแล้วจะต้องมีชีวิตอยู่
รอดอย่างปลอดภัย
สิทธิในการมีส่วนร่วม (Right of Participation)
การให้เด็กได้รับบทบาทที่ สำคัญในชุมชนเด็กมีสิทธิที่จะมีส่วนร่วมในกิจกรรมในสังคม มีอิสระใน การแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่มีผลกระทบต่อชีวิตของตนเอง
ระยะเฉียบพลันและระยะวิกฤติ
Separation Anxiety ภาวะวิตกกังวลจากการพลัดพราก
ระยะหมดหวัง (despair)
ระยะนี้เด็กจะร้องไห้น้อยลง กิจกรรมต่างๆ ลดลง ซึมไม่สนใจสิ่งแวดล้อม การเล่นหรืออาหาร ถอยหนีจากผู้อื่น ดูเศร้าโศกอ้างว้าง แยกตัวเองและเฉยเมย
เด็กจะลดความไว้วางใจบิดามารดาลง
การดูแลเด็กในระยะหมดหวัง ปลอบโยน อยู่ใกล้ชิต กอด โยกกล่อมเด็ก
ระยะปฏิเสธ (denial o detachment)
เด็กจะสร้างสัมพันธภาพอย่างผิวเผินกับเจ้าหน้าที่พยาบาล
หลายๆคนแต่หลีกเลี่ยงจะใกล้ชิดกับคนใดคนหนึ่ง
แสดงการปฏิเสธบิดามารดา
การดูแลเด็กในระยะปฏิเสธ สนับสนุนให้บิดามารดาได้แสดงบทบาทในการดูแลบุตร
ระยะประท้วง (protest)
จะต่อสู้ ดิ้นรน ขัดขืน ด่าทอหรือผลักไสผู้เข้าใกล้ ไม่สามารถปลอบให้หายเศร้าโศกได้
เด็กจะร้องไห้เสียงดัง กรีดเสียงร้อง
เรียกหาบิดามารดา ร้องไห้
การดูแลเด็กในระยะประท้วง ให้เด็กมีของรักหรือของคุ้นเคยไว้ติดตัว หรือมอบของเล่นประจ าตัว เช ่น ผ้าเช็ดหน้า
ไว้กับเด็ก เพื่อให้เด็กเกิดความมั่นใจว่าบิดามารดาจะต้องกลับมาหาและเมื่อบิดามารดาจะกลับบ้านจะต้องบอกลาเด็กเสมอ ไม่ควรหลอกเด็กหรือแอบหนี
กลับ
Pain ภาวะเจ็บปวด
วัยก่อนเรียน
อยู่ในระยะเริ่มต้นของพัฒนาการถดถอยเละแยกตัว
การดูแลช่วยโดยเล่นบทบาทสมมุติครอบครัวมีส่วนร่วมในการทำหัตถการ
ร้อง สามารถบอกตำแหน่งที่เจ็บปวดได้
วัยเรียน
มีความคิดเกี่ยวกับการตายและการมีชีวิตอยู่
การดูแล ช่วยโดยอธิบายทำความเข้าใจ อยู่คุยขณะทำหัตถการ
สามารถบอกความเจ็บปวดได้
วัยหัดเดิน
ร้องเสียงดังเละพูดว่า"เจ็บ ๆ ๆ"
กระสับกระส่าย ถูบริเวณที่ปวด
วัยรุ่น
เข้าใจสาเหตุและผลของการเจ็บปวด
การดูแล ช่วยโดยอธิบายเป็นเหตุผลแบบผู้ใหญ่
กล้ามเนื้อแข็งเกร็งมากขึ้นการทำกิจกรรมลดลง แยกตัว
วัยทารก
แสดงออกทางสีหน้า กดเจ็บ ร้องเสียงดัง
มีการตอบสนองต่อร่างกายทั้งหมด แขนขาอาจสั่นเกร็ง
การดูแล ช ่วยเหลือโดยอุ้ม – สัมผัส - ทำหัตถการ
เครื่องมือใช้ประเมิน
ความเครียดและการเผชิญกับความเครียด(Stress and coping)
วัยหัดเดิน ทำให้เด็กสูญเสียความเป็นตัวของตัวเอง
วัยเรียน เด็กมีความเป็นอิสระ เด็กกลัวถูกควบคุมสูญเสียการยอมรับจากเพื่อน
วัยทารก เมื่ออยู่โรงพยาบาลเด็กสูญเสียความควบคุมจากการที่กิจวัตรประจำวัน
วัยรุ่น เด็กทุกข์จากความไม่เป็นอิสระ สิ่งที่รบกวนเป็นเอกลักษณ์แห่งตน การเจ็บป่วยที่จำกัดร่างกาย
วัยก่อนเรียน สูญเสียการควบคุมตอบสนองด้วยความรู้สึกผิด และกลัว
การจัดการกับความเครียด (Coping) โดยให้ก าลังใจเด็กและพ่อแม่อธิบายให้ครอบครัวเข้าใจเกี่ยวกับโรคที่เด็กเป็นอยู่และแนวทางการรักษาของแพทย์ สนับสนุนให้สมาชิกของครอบครัวช่วยเหลือในกิจกรรมการพยาบาล
ระยะเรื้อรัง และระยะสุดท้าย
ระยะเรื้อรัง(Chronic stage)
วัยก่อนเรียน พยาบาลควรส่งเสริมให้เด็กประสบความส าเร็จตามพัฒนาการเพื่อความมั่นใจและความสามารถของ
วัยเรียน การเจ็บป่วยเรื้อรังอาจทำให้เด็กขาดเรียน ทำให้รู้สึกต่ำต้อย
วัยเตาะแตะ พยาบาลควรแนะนำพ่อแม่ให้อิสระแก่เด็กทั้งที่บ้านและโรงพยาบาลการอยู่โรงพยาบาลทำให้เด็กเกิดความวิตกกังวลเนื่องจากการแยก
วัยรุ่น ส่งเสริมวัยรุ่นให้มีส่วนร่วมในกลุ่มเพื่อนทำให้ลดความรู้สึกถูกทอดทิ้ง
วัยทารก พยาบาลควรช ่วยเหลือพ่อแม่ให้เกิดการเรียนรู้
การส่งเสริมการเผชิญความเครียด สิ่งสำคัญที่พยาบาลจะส่งเสริมการเผชิญความเครียดของเด็กคือการลดความรู้สึกที่แตกต่างและส่งเสริมการมีกิจกรรมที่ปกติ
ระยะสุดท้าย (End stage)
ระยะต่อรอง (Bargaining)
ระยะซึมเศร้า (Depression)
ระยะโกรธ (Anger)
ระยะยอมรับ (Acceptance)
ระยะตกใจและปฏิเสธ (Shock & denial)
เป้าหมายการดูแลเมื่อเด็กเข้าสู่ระยะสุดท้ายของชีวิตการดูแลให้เด็กตายอย่างสงบโดยไม่มีอาการปวด
ภาพลักษณ์ (Body image)
เมื่อเจ็บป่วยร่างกายจะเปลี่ยนแปลงรูปร่างลักษณะภายนอก จึงมีผลต่อความรู้สึกของเด็ก
ปัจจัยที่มีอิทธิพลมีดังนี้ ปัจจัยส่วนบุคคล เช่น เพศ อายุ ขนาดและสัดส่วนของร่างกาย
โดยเฉพาะเมื่อเริ่มเข้าสู่วัยรุ่น
ความตาย(Death & Dying)
วัยรุ่น
ความตายเป็นการจากไปอย่างถาวรและ
หลีกเลี่ยงไม่ได้
วัยก่อนเรียน
การตายเหมือนคนนอนหลับ ไม่เคลื่อนไหว พูดไม่ได้ ตายแล้วฟื้นได้
วัยหัดเดิน
การสูญเสียผู้ดูแลเท่านั้น มองหาความปลอดภัย มีพฤติกรรมถดถอย
วัยเรียน
ความตายเป็นสิ่งที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงได้และไม่สามารถฟื้น
กลับได้
วัยทารก
ทารกไม่มีปฏิกิริยาโดยตรงต่อความตาย แต่จะเครียดจากความหิว เจ็บ พลัดพราก