Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
การพยาบาลระบบประสาท 2E5096C7-AE8F-4A2F-B82F-E54F53A8EC43, Head Injury,…
การพยาบาลระบบประสาท
Infection
ฝีในสมอง (Brain Abscess)
สาเหตุ
การมีหนองอยู่ในเนื้อสมอง บริเวณที่เป็นหนองอาจมีขอบหรือไม่มีขอบก็ได้ เกิดจากการติดเชื้อลุกลามจากการอักเสบบริเวณใกล้เคียง เช่น หู หรือ mastoid sinus หรือ nasal sinus หรือหัวใจ ปอด และการอักเสบจากที่อื่นๆ
-
ข้อวินิจฉัยทางการพยาบาล
-
2.ได้รับความเจ็บปวดทุกข์ทรมาน เนื่องจากปวดศีรษะ ปวดกล้ามเนื้อจากแรงกดของ exudate ที่ลดลงบนเยื่อหุ้มสมอง
-
-
เยื่อหุ้มสมองอักเสบ
เยื่อหุ้มสมองอักเสบจากแบคทีเรียมีลักษณะ คือ มีการอักเสบของเยื่อหุ้มสมองทุกชั้น แล้วเกิดการติดเชื้อกระจายไปทั่ว โดยผ่านทาง CSF ไปรอบๆ สมองและชั้นไขสันหลัง รวมทั้งในโพรงสมองด้วย
อาการและอาการแสดง
-
-
-จะมีอาการหงุดหงิด แต่เมื่อการดำเนินของโรคมากขึ้นผู้ป่วยจะสับสน ซึม และกึ่งหมดสติ อาจมีชักด้วยหรืออาจมีรอยช้ำหรือผื่นแดงๆ ( petechial or hemorrhagic rash) เกิดขึ้น
-
-
Non infection
-
-
-
-
-
Gillane Barre syndrome
เป็นโรคภูมิแพ้ตัวเอง(autoimmune disorder) อย่างหนึ่ง เกิดกับระบบประสาทส่วนปลาย ส่วนใหญ่ถูกกระตุ้นโดยการอักเสบเฉียบพลัน
การจำแนก
-
- Miller Fisher syndrome (MFS) มักจะมีผลต่อกล้มเนื้อตา โดยมีอาการกล้มเนื้อตาอ่อนแรง เดินเซ
- Acute motor axonsl neuropathy ชนิดนี้อาจจะเกิดตามฤดูกาลและฟื้นตัวได้รวดเร็ว
- Acute motor sensory axanol neuroathy (AMSAN) ฟื้นตัวช้าและมักจะไม่สมบูรณ์
- Acute neuropathy panautonomic มีอัตราการตายสูง
- Blickerstaff’s brainstem encephalitis (BBE) ความผิดปกตส่วนใหญ่อยู่ที่ brainstem โดยเฉพาะในไขสันหลัง
-
Myasthenia gravis (MG)
เป็นโรคทางระบบภูมิต้านทานตนเองที่แสดงอาการอ่อนแรงของกล้ามเนื้อและอาการอ่อนเปลี้ยที่แย่ลง เมื่อมีการออกกำลังกาย และดีขึ้นเมื่อพัก
-
-
-
Neurogenic shock
ภาวะช็อคที่เกิดจากการเสียสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติที่ควบคุมการขยายตัวและการหดตัวของหลอดเลือด—> เป็นผลให้มีการขยายตัวของหลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงขึ้นอย่างทีนทีทีนใด—> เลือดจะไปคั่งอยู่ที่หลอดเลือดดำและหลอดเลือดแดงส่วนปลาย—> ปริมาณเลือดไหลกลับหัวใจน้อยลงและการเสียสมดุลของระบบประสาทอัตโนมัติจะทำให้หัวใจเต้นช้าลงด้วย —> ทำให้ Cardiac output ลดลง และความดันเลือดลดลง —> ทำให้เกิดภาวะช็อค
สาเหตุ
-
การได้รับบาดเจ็บ เช่น อวัยวะภายในโดนดึงรั้ง เข่น acute gastric dilation, spinal cord injury , brain stem ถูกทำลาย เป็นต้น
-
-
อาการและอาการแสดง
เป็นลม ซึ่งเกิดจากเลือดไปเลี้ยงสมองไม่พอ ผู้ป่วยจะมีมือเท้าอุ่น และผิวหนังแดงจากผลของหลอดเลือดขยายตัว ซึ่งต่างจากช็อคจากสาเหตุอื่น ความดันโลหิตต่ำ (hypotension) และชีพจรเต้นช้า (bradycardia)
การรักษา
1.การรักษาเฉพาะโรค คือกำจัดสาเหตุถ้าทำได้ เช่น ใส่ NG tube ในรายที่มี acute gastric dilation หยุดดึงรั้งอวัยวะภายใน หนุดการทำหัตถการที่ทำให้ผู้ป่วยบาดเจ็บปวดหรือกลัว
2.การรักษาตามอาการและประคับประคอง เช่น ดูแลเรื่องการหายใจ โดยให้ออกซิเจนอาจจะให้ทาง nasal cannular, mask บางรายอาจจำเป็นต้องใส่ท่อหลอดลมคอและใช้เครื่องช่วยหายใจ
-
Spinal cord Injury
การบาดเจ็บของรากรากประสาทที่อยู่ในโพรงของกระดูกสันหลัง รวมถึง cauda equinaซึ่งเป็นรากประสาทที่ออกจากส่วนปลายของไขสันหลัง
-
-
-
-
-
-
อ้างอิง: สาวิณี ชาญสินธพ. (2563). เอกสารประกอบการสอนระบบประสาท. คณะพยาบาลศาสตร มหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์
-
-