Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์ - Coggle Diagram
โรคติดเชื้อร่วมกับการตั้งครรภ์
ไวรัสตับอักเสบบี (Hepatitis B)
การวินิจฉัยคัดกรองการติดเชื้อ
HBsAg / Anti-HBs
Liver function test
ตัดชิ้นเนื้อตับไปตรวจ
อาการและอาการแสดง
เฉียบพลัน
เกิดขึ้น 1-4 เดือนหลังติด
ตัวเหลือง ตาเหลือง ปวดใต้ชายโครงขวา
อื่นๆ คลื่นไส้ อาเจียน เบื่ออาหาร ผื่น ปวดตามข้อ
เรื้อรัง
มักไม่แสดงอาการ
มีผล Liver function test ผิดปกติ
การติดต่อ
เพศสัมพันธ์ุ
สารคัดหลั่ง
เลือด
การติดต่อสู่ทารก
ติดต่อโดยการคลอดทารกจะกลืนสื่งคัดหลั่งของแม่
เข้าไปจะพบเชื้อในกระเพาะอาหารของทารกมาก
สามารถแพร่เชื้อผ่าน Placentaได้
แนวทางการรักษา
ระยะก่อนการคลอด
HBeAg มีผลเป็นลบ --> ให้ฝากครรภ์ปกติ
HBeAg ผลเป็นบวกหรือหากมารดามีปริมาณไวรัสในเลือด
สูงกว่า 200,000 IU/mL --> ให้เริ่มยาต้านไวรัสในไตรมาสสุดท้ายของการตั้งครรภ์ เริมที่ GA 28-32 สัปดาห์
Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg. รับประทาน วันละ 1 ครั้ง ให้จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
Lamivudine 100 mg ร่วมกับ HBIg ในสัปดาห์ที่ 32 ของการตั้งครรภ์
ระยะหลังคลอด
ด้านมารดา
รับประทาน Tenofovir Disoproxil Fumarate (TDF) 300 mg. วันละ 1 ครั้ง จนถึง 4 สัปดาห์หลังคลอด
เมื่อหยุดยา TDF หลังคลอด 6-8 สัปดาห์ควรตรวจดูระดับ ALT
ALT>Upper normal limit ให้ส่งต่ออายรุแพทย์
ALT<Upper normal limit ให้แนะนำถึงความเสี่ยงและส่งต่อ
ด้านทารกแรกเกิด
ใช้หลัก universal precaution
Hepatitis B immunoglobulin (HBIG) (400IU)
Hepatitis B Vaccine
การพยาบาล
ก่อนตั้งครรภ์
ควรมีการวางแผนครอบครัว
ตรวจเลือดก่อนการตั้งครรภ์
ขณะตั้งครรภ์
อาจเกิดการแตกของถุงน้ำคร่ำก่อนกำหนดได้
แท้ง/ตายคลอด
มารดาอาจเกิดการวายของตับได้
การคัดกรองโดยการซักประวัติ
การส่งตรวจเลือดหา HBsAg
ระยะคลอด
ทารกอาจได้รับเชื้อจากการกลืนสารคัดหลั่งจากแม่
ควรคลอดด้วยวิธีทางธรรมชาติไม่ตัดฝีเย็บและ
งดการใช้สตูิศาสตร์หัตถการ
ใช้หลัก universal Precaution
ระยะหลังคลอด
ให้คำแนะนำในการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อเกี่ยวกับน้ำคาวปลาและสิ่งคัดหลั่ง
ประเมินหัวนมแตก ส่งเสริม BF 6 เดือน
แนะนำการคุมกำเนิด
หัดเยอรมัน (Rubella, German measles)
:warning:การติดเชื้อ สามารถเกิดขึ้นโดยการสัมผัส
โดยตรงต่อสารคัดหลั่งจากโพรงจมกูและปากของผู้ติดเชื้อ
การวินิจฉัย
การซักประวัติการสัมผัสโรค ตรวจร่างกายว่ามีผื่นขึ้นหรือไม่
ตรวจทางห้องปฏิบัติการ
วิธี ELISA
Hemaglutination inhibition (HAI)
ตรวจหาภูมิคุ้มกัน IgG ภายใน 7 วันหลังผื่นขึ้น
ตรวจซ้ำอีกครั้งใน 1-2 สัปดาห์ ต่อมา
ผลน้อยกว่า 1:8 หรือ 1:10 --> ไม่มีการติดเชื้อ ไม่มีภูมิคุ้มกัน
มากกว่าเดิม 4 เท่า --> เป็นหัดเยอรมัน
อาการและอาการแสดง
ระยะก่อนออกผื่น
ไข้ต่ำ ปวด ศีรษะ ตาแดง คออักเสบ
ปวดกล้ามเนื้อ ก่อนที่จะออกผื่น 1-2 วัน
Koplik's spot จุดสีขาว เหลืองขนาดเล็กคล้าย
เม็ดงาอยู่ที่กระพุ้งแก้มบริเวณใกล้กับฟันกรามล่าง
ต่อมน้ำเหลืองใต้ทายทอยหลังหูโต
ระยะออกผื่น
ผื่นขึ้นหลังมีไข้ 3-4 วัน จะมีผื่นแดงเล็กๆ
erythematous maculopapular) มีตุ่มนูน
ผื่นแดงหรือสีชมพูขึ้นที่ใบหน้าก่อนจะลามลงมา
ตามผิวหนังส่วนอื่น ๆ เช่น แขน ขา
และจะค่อย ๆ หายไปภายใน 3 วัน
ผลกระทบ
หญิงตั้งครรภ์
เส้นประสาทอักเสบ
เกร็ดเลือดต่ำ
สมองอักเสบ
ทารก
:warning:GA<16 สัปดาห์ ทารกจะพิการ พิจารณา
ทำแท้ง
ตาบอด ต้อกระจก
ความผิดปกติของหัวใจ
หูหนวก
การรักษาพยาบาล
ไตรมาสที่ 1 แพทย์จะแนะนำให้ยุติการตั้งครรภ์
หากไม่ต้องการยุติการตั้งครรภ์ แพทย์อาจพิจารณาฉีด Immunoglobulin
รักษาแบบประคับประคอง
แนะนำพักผ่อนให้เพียงพอ
แนะนำดื่มน้ำให้เพียงพอ จิบบ่อย ๆ
ถ้ามีไข้แนะนำรับประทานยา paracetamal ตามแพทย์สั่ง
หลีกเลี่ยงอยู่ใกล้หรือคุกคลีกับผู้ป่วย
ซิฟิลิส (Syphilis)
เกิดจากการติดเชื้อ Treponema pallidum
สามารถติดเชื้อจากมารดาไปยังทารกได้โดยการ
:warning:แพร่ผ่านรกโดยตรง
:warning:ขณะคลอดทางช่องคลอดที่มีรอยโรค
การวินิจฉัย
การตรวจเลือด
การตรวจ VDRL หรือ RPR
FTA-ABS (Fluorescent Treponemal Antibody Absorption Test)
การส่งตรวจน้ำไขสันหลังเพื่อวินิจฉัย
อาการและอาการแสดง
primary syphilis
มีแผลริม แข็งมีตุ่มแดงที่อวัยวะเพศ ริมฝีปาก
เป็นลักษณะขอบนูนไม่เจ็บ
ต่อมนheเหลืองโต กดไม่เจ็บ
secondary syphilis
แผลริมแข็งหายแล้ว
มีผื่นสีแดงน้ำตาล ไม่คัน ทั่วตัวผ่ามือผ่าเท้า
อาจมีไข้หรือ ปวดตามข้อจากการเกิดข้ออักเสบ
ต่อมน้ำเหลืองโต
ผมร่วง
latent syphilis
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี
เป็นช่วงที่ไม่มีอาการ
tertiary or late syphilis
หลังจากได้รับเชื้อ 2-30 ปี
เชื้อจะทำลายอวัยวะภายใน เช่น หัวใจและหลอดเลือด
สมอง ตาบอด
ภาวะแทรกซ้อน
เสี่ยงต่อการแท้งหลังอายุครรภ์ 4 เดือน
ทารกตาบอด
การคลอดก่อนกำหนด
IUGR
Hydropfetalis
การรักษา
การรักษาระยะต้น
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM ครั้งเดียว
แบ่งฉีดที่ สะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวดโดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การรักษาระยะปลาย
ให้ยา Benzathine penicillin G 2.4 mUIM สัปดาห์ละครั้ง
นาน 3 สัปดาห์ แบ่งฉีดที่สะโพก ข้างละ 1.2 mU
อาจลดอาการปวด โดยผสม 1% Lidocaine 0.5-1 ml
การพยาบาล
ระยะตั้งครรภ์
ตรวจคัดกรองซิฟิลิสขณะตั้งครรภ์
ครั้งแรกเมื่อมาฝากครรภ์ครั้งแรก
และตรวจซ้ำอีกครั้งในไตรมาสที่ 3
ดูแลให้ได้รับยาปฏิชีวนะตามแผนการรักษา
รักษาความสะอาดอวัยวะเพศ และสวมถุงยางอนามัย
แนะนำให้พาสามีมาตรวจและรักษาด้วย
ดูแลทางด้านจิตใจ
ระยะคลอด
ใช้หลัก Universal precaution
ดูดเมือกออกจากปากและจมูกทารกโดยเร็ว
เจาะเลือดจากสายสะดือทารก
เพื่อส่งตรวจการติดเชื้อซิฟิลิส
ระยะหลังคลอด
BF ได้ปกติ
ล้างมือก่อน-หลังสัมผัสทารก