Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
วิตามินและเกลือแร่ - Coggle Diagram
วิตามินและเกลือแร่
เกลือแร่ (Minerals)
สารอาหารอนินทรีย์ที่ร่างกายขาดไม่ได้
พบในร่างกายประมาณ 20 ชนิด
เกลือแร่ปริมาณน้อย
Fe Cu I Zn Se Mn F Mo
เกลือแร่หลัก
ได้แก่ Ca P K Mg Na Cl S
Na มีมากที่สุดในร่างกาย
มีในร่างกายมากกว่า 5 กรัม และต้องการมากกว่า 100 มก.ต่อวัน
สมบัติที่สำคัญของเกลือแร่
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างชนิดของเกลือแร่
ธาตุที่มีวาเลนซีเหมือนกันจะแข่งขันกันดูดซึมในลำไส้เล็ก
การละลายน้ำ
ถ้าละลายได้ดีจะดูดซึมในลำไส้ได้ดี โดยเฉพาะที่มีวาเลนซี
เท่ากับ 1 เช่น Na+ K +
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างเกลือแร่กับเส้นใยอาหารและวิตามิน
สารอาหารบางชนิดจะจับกับเกลทอแร่ทำให้ไม่ละลายน้ำ ดูดซึมได้น้อย
วิตามินช่วยการดูดซึมเกลือแร่
แร่ธาตุที่ส่งผลเสียต่อสุขภาพ
โลหะหนัก Pb Hg Cd
หน้าที่ของเกลือแร่
ควบคุมความเป็นกรด-เบส
เป็นส่วนประกอบของ โปรตีน ฮอร์ดมน เอนไซม์
ควบคุมสมดุลน้ำในร่างกาย
เป็นส่วนประกอบของเนื้อเยื่อ กระดูก ฟัน
เร่งปฏิกิริยา
วิตามิน
ควบคุมปฏิกิริยาเมแทบอลิซึมในร่างกาย
ไม่ให้พลังงาน ไม่เป็นองค์ประกอบของเนื้อเยื่อ
ส่วนใหญ่ร่างกายสังเคราะห์ไม่ได้
ต้องรับจากอาหาร ตามข้อกำหนด
Esterimated Average Requirement (EAR)
คือค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ได้รับ ทำให้ประชากรร้อยละ 50 มีสุขภาพดีตามช่วงอายุ และเพศ
Recommended Dietary Allowance (RDA)
ค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ร่างกายต้องการต่อวัน
ของประชากรร้อยละ 97-98
Dietary Reference Intakes (DRIs)
เป็นปริมาณสารอาหารโดยประมาณที่ร่างกายต้องการ
Tolerable Upper Intake Level (UL)
ปริมาณสารอาหารสูงสุดที่ร่างกายรับ
ได้โดยไม่เกิดอันตรายต่อสุขภาพ
สารอินทรีย์ที่เป็นสารอาหารรอง(micronutrients) ร่างกายต้องการน้อยแต่จ าเป็น
วิตามินแบ่งเป็น 2 กลุ่ม
วิตามินที่ละลายในน้ำ ( Water soluble vitamins)
บี 6
สังเคราะห์สารสื่อประสาท ฮอร์โมน
บี 7
ป้องกันพิษจากไข่ขาวดิบ เนื่องจากจับกันเป็นสารประกอบ
แหล่งที่พบ ได้แก่ ไข่แดง นม แป้งถั่วเหลือง
บี 5
สังเคราะห์ในพืชและแบคทีเรียในลำไส้
บี 9
ในร่างกายพบอยู่ในรูปเกลือโฟเลต
บี 3
ถูกดูดซึมง่ายที่ลำไส้เล็ก
บี 2
เป็นผลึกรูปเข็มสีเหลืองปนแสด
ทนต่อความร้อนและกรด
บี12
การกระตุ้นการเจริญเติบโตในเด็ก เพิ่มความอยากอาหาร
การขาด B12 ส่งผลต่อระบบประสาท
มึนงง ความจำสั้น
วิตามินบี 1
พบมากในเมล็ดข้าวเจ้าและข้าวสาลี
บริเวณผิวนอกที่มีสีน้ำตาล
ถ้าขาด
ทำให้เกิดอาการโรคเหน็บชา
วิตามินซี
สังเคราะห์และรักษาเนื้อเยื่อ ซ่อมแซมเนื้อเยื่อ ป้องกันและรักษาไข้หวัด
ดูดซึมได้ดีในลำไส้เล็ก
มีมากในผักผลไม้ประเภทส้ม มะนาว ลูกเกด ลูกเบอร์รี่ ผักสีเขียว
ถ้าขาดวิตามิน C
เกิดโรคลักปิดลักเปิด(scurvy)
ได้รับมากอาจเกิดนิ่วในไต รบกวนการวิเคราะห์เลือดและปัสสาวะ
วิตามินที่ละลายในไขมัน ( Fat soluble vitamins)
D
เป็นสารพวกสเตอรอยด์มี 2 รูปคือ D2
และ D3
D3สังเคราะห์จาก 7 – dehydrocholesterol ที่อยู่ใต้ผิวหนัง เมื่อถูกแสงแดด (UVB)
หน้าที่
ช่วยร่างกายในการสร้างกระดูกและฟัน
กระตุ้นการดูดซึมแคลเซียมและฟอสเฟตจากหลอดไต
ร่วมกับฮอร์โมนพาราไทรอยด์ในการรักษาระดับแคลเซียมในเลือด
การขาดวิตามิน D
ทำให้ร่างกายขาดแคลเซียมและฟอสฟอรัสในการสร้างกระดูก
เกิดโรคกระดูกอ่อน(กระดูกพรุน)ในเด็ก และกระดูกเปราะ(กระดูกน่วม)ในผู้ใหญ่
เสี่ยงต่อโรคมะเร็งล าไส้ใหญ่ เต้านม ต่อมลูกหมาก
E
เป็นสารพวกแอลกอฮอล์ไม่อิ่มตัว
ไวต่อการถูกออกซิไดส์จึงป้องกันสารอื่นไม่ให้ถูก ออกซิไดส์
ดูดซึมได้ดีในลำไส้เล็ก
IU คือ International Unit
RDA คือ ค่าเฉลี่ยของสารอาหารที่ร่างกายต้องการต่อวัน
AI คือ ค่าที่กำหนดจากงานวิจัยเป็นปริมาณที่ร่างกายต้องการ แต่ยังไม่สรุปเป็น EAR
A
อนุพันธ์ ของเรตินอล(retinol)
รูปแอลดีไฮด์ เรียกเรตินาล(ratinal)
ส่วนใหญ่เป็นไอโซเมอร์แบบรูปทรานทั้งหมด
(all trans-retinol) เรียกว่า A1
รูปกรดคาร์บอกซิริก เรียกกรดเรติโนอิก
เป็นสารประกอบพอลิไอโซพรีนอยด์ (polyisoprenoid)
โพรวิตามิน A
เบตา แคโรทีน (Beta Carotene)
พบมากในผักและผลไม้โดยเฉพาะที่มีรงควัตถุสีเหลือง
ในผักสีเขียวจัด
จะถูกเปลี่ยนเป็นเรตินาลที่ผนังล าไส้เล็ก
หน้าที่
ต้านออกซิเดชัน(antioxidant) บีตา แคโรทีน ช่วยลดความเสี่ยงต่อการเป็นมะเร็งปอดในผู้สูบบุหรี่
การเจริญและการเปลี่ยนสภาพของเซลล์ โดยเรตินอล กรดเรติโน-อิก
รักษาความคงสภาพของเนื้อเยื่อบุผิว
การมองเห็น เกี่ยวข้องกับเซลล์รับภาพจอตา
ความต้องการ
ร่างกายต้องการวิตามินเอ(retinol) วันละ 1 มก.
เรตินอลพบมากใน ตับ ไข่แดง น ้ามันปลา นม
ภาวการณ์ขาดวิตามิน
ระยะยาว เยื่อบุตาอักเสบ(xerophthalmia) เยื่อตาขาวและกระจกตาแห้ง เลือดออกในตา ตาบอด
เกิดโรคโลหิตจาง (aniamia) เพราะเรตินอล และเรติโนอิกสังเคราะห์โปรตีนทรานสเฟอริน
เริ่มแรก สูญเสียความไวต่อแสงสีเขียว และเกิดโรคตาบอดกลางคืน
เกิดในคนที่ภาวะโภชนาการไม่ดี หรือระบบดูดซึมอาหารผิดปกติ
K
K1(phylloquinone) พบในผักสีเขียว
K2(menoquinone) แบคทีเรียในลำไส้สังเคราะห์ได้
น้ำมันทอดซ้ำ มีผลทำให้วิตามินเคสลายตัว
K3 (mendadione) สังเคราะห์ขึ้นใช้ส าหรับรักษาคนไข้ที่ไม่สามารถใช้วิตามินเคที่สร้างขึ้นที่ลำไส้ได้ เนื่องจากขาดน ้าดี
อาหารที่มีวิตามิน K
พืชผักที่มีใบสีเขียว ผักกระเฉด ผักโขม กะหล่ำปลี
น้ำมันถั่วเหลือง น้ำมันเมล็ดคำฝอย น้ำมันตับปลา
ตับหมู ไข่แดง
นม และผลิตภัณฑ์จากนม
ขาดวิตามิน K
ท าให้โพรทรอมบินเฟกเตอร์และโปรตีนช่วยการแข็งตัวของเลือดปริมาณต่ำมีผลทำให้เลือดแข็งตัวช้า
ผู้ใหญ่ไม่ค่อยพบ นอกจากใช้ยาบางชนิด
ทารกเกิดใหม่พบบ่อย เพราะแบคทีเรียในลำไส้น้อย ในนมมีน้อย
ทนความร้อน ละลายในไขมัน
ดูดซึมพร้อมอาหารจำพวกไขมัน