Please enable JavaScript.
Coggle requires JavaScript to display documents.
บทที่ 9 อาหารที่เหมาะสมกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ - Coggle Diagram
บทที่ 9 อาหารที่เหมาะสมกับผู้ที่มีปัญหาสุขภาพ
โรคเบาหวาน
อาหารที่่เหมาะกับผู้ป่วยโรคเบาหวาน
1.เรียนรู้และนับคาร์บกับอาหารแลกเปลี่ยน
เลือกกินเนื้อสัตว์อย่างฉลาด
3.รู้จักเลือกกินอาหารที่มีประโยชน์
1.เลือกคาร์โบไฮเดรตชนิดดีกิน
2.เลือกกินชนิดไขมันที่ช่วยลดคอเลสเตอรอลทีไม่ดี
3.กินอาหารที่มีแอนตี้ออกซิเดนซ์
4.กินอาหารที่มีจุลินทรีย์สุขภาพ
4.รูจักเลือก รู้จักลด และงดอาหารที่เสี่ยงต่อสุขภาพ
1.ลดและงดคาร์โบไฮเดรตชนิดไม่ดี
2.ลดและงดไขมันที่ได้จากผลิตภัณฑ์และไขมันทรานว์
3.ลดอาหารหมักดองและอาหารเค็มจัด
5.กินโดยควบคุมปริมาณอาหารจากพลังงานที่ต้องการในแต่ละวัน
โรคตับ ตับอ่อนปกติ
อาหารบําบัดโรคตับอักเสบ
คาร์โบไฮเดรต 300-400 กรัม อาจให้ในรูปของขนมหวาน น้ำผึ้ง น้ำหวาน
พลังงาน 2500-3500
โปรตีนวันละ 75-100 กรัม ควรได้ที่ได้จากสัตว์เป็นส่วนใหญ่
ไขมัน ร้อยละ 25-30 ของพลังงานที่ควรได้ทั้งวัน
อาหารบําบัดโรคตับแข็ง
ปริมาณโปรตีนหรือ เนื้อสัตว์แตกต่างจากคนทั่วไปประมาณวัน ละ 6-12ช้อ นโต๊ะ แต่ถ้าเป็นตับแข็งที่มีอาการทางสมองร่วมด้วยจะลดเหลือประมาณวัน ละ 2-3 ช้อนโต๊ะ หรือ งดโปรตีนไประยะหนึ่ง
อาหารบําบัดโรคมะเร็งตับ
ช่วงแรกของการเกิดโรคควรได้รับ โปรตีนเพิ่มขึ้นเป็น 1.5
กรัม ต่อน้ำหนักตัว 1 กิโลกรัม
โรคเก๊าท์
การปฏิบัติ
1.ควบคุมหรือ จํากัดอาหารประเภทที่มีกรดยูริก สูงได้แก่
พวกเครื่องในสัตว์ และผักบางชนิด
2.งดดื่มเหล้า ไวน์ เบียร์ หรือ เครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทําให้ขับกรดยูริก
3.ควรดื่มน้ำมาก ๆจะช่วยขับกรดยูริก ออกทางปัสสาวะเพื่อป้องกันนิ่ว
4.ในรายที่อ้วนต้องลดน้ำหนัก
5.หลีกเลี่ยงการใช้ยาแอสไพริน
6.ออกกําลังกาย เช่น ว่ายน้ำ
7.ปรึกษาแพทย์สม่ำเสมอ
โรคระบบทางเดินอาหาร
สาเหตุ
การสูบบุหรี่
มีอุปนิสัยการรับประทานอาหารที่ไม่ถูกต้อง
อื่นๆ ซึมเศร้าวิตก กังวล
ข้อควรปฏิบัติสําหรับผู้ป่วยโรคกระเพราะอาหาร
รับประทานยาสม่ำเสมอตามแพทย์สั่ง
หมั่นออกกําลังกาย
หลีกเลี่ยงสิ่ง ระคายเคืองต่อกระเพราะอาหาร
งดสูบบุหรี
รัประทานอาหารให้ตรงเวลา
รับประทานอาหารอ่อนที่ย่อยง่าย
อาหารที่รับประทานในแต่ละมื้อไม่ควรมีมากเกินไป
ถ้าเครียดพยายามลดความเครียด
รัประทานยาลดกรด
อาหารไม่เหมาะสมกับผู้ป่วยโรคกระเพาะ
ผลไม้ที่มีก๊าซมาก
ผัก ผลไม้ดิบ
เครื่องเทศต่าง ๆ
เครื่องดื่ม ชา กาแฟ
ผักที่มีก๊าซมาก
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคกะเพราะอาหาร
1.อ่อนนุ่ม ไม่มีกากหรือ ใย ไม่มีเม็ด และเปื่อยนุ่ม
2.อาหารที่มีรสอ่อน
3.ช่วยให้ความเป็นกรดในกระเพาะลดลง
4.เป็นอาหารที่อยู่ในกระเพาะได้นานพอสมควร
โรคถุงนํ้าดีอักเสบ
อาหารที่ไม่เหมาะกับผู้ป่วยโรคถุงน้ำดีอักเสบ
ผลไม้ที่ก๊าซมาก
อาหารที่มีไขมันมาก
อาหารที่มีก๊าซมาก
โรคไต
ประเภทของอาหารที่ ใช้ควบคุมโรคไต
1.อาหารจํากัดโปรตีน
1.โปรตีนที่ใช้ในอาหารจํากัดโปรตีน ควรเป็นโปรตีนที่มีคุณภาพสูง
2.ไตวายเรื้อรัง หลีกเลี่ยงอาหารที่มีฟอสเฟตสูง
3.เมื่อจํากัดโปรตีนในอาหาร ควรให้อาหารที่มีพลังงานมาก
2.อาหารเพิ่มโปรตีน
3.อาหารจํากัดโซเดียม
4.อาหารเพิ่มโซเดียม
5.อาหารจํากัดโพแทสเซียม
6.อาหารจํากัดฟอสเฟต
7.อาหารเพิ่มโพแทสเซียม
โรคความดันโลหติสูง
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคความดันโลหติสูง
1.ควบคุมน้ำหนัก
2.ลดการบริโภคโซเดียม
2.1 ลดความเค็มในอาหาร
2.2หลีกเลี่ยงอาหารสําเร็จรูป
2.3ลดความถี่และปริมาณการกินอาหารที่มีน้ำมัน
2.4 หลีกเลี่ยงอาหารที่ใส่สารกันเสีย
2.5ปรุงอาหารด้วยเครื่องเทศหรือสมุนไพร
2.6งดหรือลดอาหารที่มีไขมันมาก
2.7 งดบุหรี่และเครื่องดื่มแอลกอฮอร์
2.8 ควรออกกําลังกายอย่างสม่ำเสมอให้เหมาะสมกับวัย
โรคเอดส์
อาหารที่เหมาะสมกับผู่ป่วยโรคเอดส์
อาหารกลุ่มแป้ง วัน ละ 4-6 ส่วน
ผักและผลไม้ วัน ละ 5 ส่วน
เนื้อ ไข่ ถั่ว วัน ละ 2-3 ส่วน
นม วัน ละ 3 ส่วน
ไขมัน
สุขลักษณะอนามัยด้านอาหารของผู้ป่วยโรคเอดส์
ผู้ป่วย CD4 ต่ำกวา่ 200 ควรดื่มน้ำที่ผ่านการฆ่าเชื้อแล้ว
แยกอาหารสุกหรือ ไม่สุกเป็นสัดส่วน
หลีกเลี่ยงอาหารขึ้นรา แม้เพียงเล็กน้อย
หลีกเลี่ยงนมไม่ผ่านการฆ่าเชื้อ
หลีกเลี่ยงการทานอาหารดิบ
หลีกเลี่ยงโยเกิรต์ หรือ อาหารเสริม
อาหารสุดตั้งทิ้ง ควรอุ่น ใหม่
ล้างผักและผลไม้ให้ สะอาด
อาหารที่ปรุงแล้วหากเก็บในตู้เยน็ ไม่ควรเกิน 2 วัน
หากเกินควรแชช่องฟรีซ
โรคอ้วน
อาหารที่เหมาะกับผู้ป่วยโรคอ้วน
กินอาหารกลุ่มเนื้อสัตว์ไขมันต่ำ
ไม่ดื่มน้ำอัดลมที่มีน้ำตาล
กินอาหารพลังงานต่ำ
ควบคุมพลังงาน
ลดการกินข้างแป้ง ไขมัน
ดื่มชา กาแฟไม่ใส่น้ำตาล
ไม่กินอาหารทอด
หลีกเลี่ยงอาหารที่มีไขมันทรานซ์
ไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
อาหารที่เหมาะสมกับผู้ป่วยไฟไหม้ น้ำร้อนลวก
1.พลังงาน 50 - 70 แคลอรี่ต่อนน.ตัว1กก.
2.โปรตีน วัน ละ 2-3 ต่อนน. ตัว1กก.
3.วิตามิน เกลือแร่
4.น้ำ